Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเหรียญ บุญดีสกุลโชค-
dc.contributor.advisorนันทพร ลีลายนกุล-
dc.contributor.authorกฤษดา พัวสกุล-
dc.date.accessioned2020-08-27T04:37:57Z-
dc.date.available2020-08-27T04:37:57Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745324787-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67730-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractเนื่องมาจากปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรอบด้านทั้งปัจจัยภายนอกและภายในไม่ว่าจะเป็นการหมดลงของโควต้าการนำเข้าเครื่องนุ่งห่ม การเปิดเขตการค้าเสรี ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกและการที่ต้นทุนในการดำเนินการทั้งค่าแรง ค่าวัตถุดิบ มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยภายใน ทำให้อุตสาหกรรมการผลิตเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มภายในประเทศต้องมีการปรับตัวเพื่อให้สอดรับกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นนี้ เมื่อมองจากธรรมชาติของอุตสาหกรรมที่มี ลักษณะเป็นแบบ Labor Intensive ทำให้ต้นทุนที่สำคัญก็คือ ค่าแรงของพนักงาน ค่าแรงในส่วนการผลิตจะผูกโยงกับค่าเวลามาตรฐานต่อหน่วย (SAMs, Standard Allowance Minutes) ที่ใช้อย่างแนบแน่น ทำให้การหาค่าเวลามาตรฐานต่อหน่วยที่แม่นยำจะส่งผลให้การจ่ายค่าแรงมี ประสิทธิภาพตามไปด้วย โดยระบบที่พัฒนาขึ้นมาใหม่นั้น จะลดความซับซ้อนของข้อมูลการผลิตที่ใช้ในระบบลง เพื่อให้ผู้ใช้งานแต่ละคน สามารถที่จะใช้งานระบบการคิดค่าเวลามาตรฐานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งทำได้โดยการนำเอาระบบการคิดค่าเวลามาตรฐานแบบ MTM-2 มาประยุกต์ใช้ มีการนำเอาภาพวิดีโอแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวมาช่วยอธิบายท่าทางการทำงานของพนักงาน เพื่อลดปัญหาที่เกิดจากการเลือกใช้ท่าทางการทำงานผิดพลาดในการคิด ค่าเวลามาตรฐานต่อหน่วย ผลลัพธ์สุดท้ายที่ได้มาจากงานวิจัยนี้ คือ 1.โปรแกรมที่ใช้ในการคิดค่าเวลามาตรฐานต่อหน่วย ซึ่งสามารถที่จะประยุกต์ใช้เป็นคลังของข้อมูลการผลิตของแต่ละโรงงานได้อีกด้วย อีกทั้งโปรแกรมนี้ยังมีการจัดจำแนกผู้ที่เข้ามาใช้งานออกเป็น 3 ระดับ เพื่อรักษาความเรียบร้อยและถูกต้องของข้อมูลภายในโปรแกรม จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างผลที่ได้จากโปรแกรม SAM-g1 กับผลที่ได้จาก MRL พบว่ามีความใกล้เคียงกันอย่างมีนัยสำคัญ-
dc.description.abstractalternativeAccording to the change of both internal and external elements including the ending of garment quota and liberalization, which are external factors and increasing of labor and resource costs, which are internal factors. These factors influence garment industry to adapt itself in order to encounter with the changing circumstances. The nature of this industry is labor intensive. Consequently, the most important aspect is cost of labor. The cost of labor in producing process is connected to standard Allowance Minutes (SAMs). As a result, Standard Allowance Minutes also effects to efficiency labor cost. The new developed system reduces the complexity of calculating process helping each user to be able to utilize standard Allowance Minutes system more effectively. The new system is developed by applying MTM-2. In this system, VDO is utilized to understand working behaviors of employees. This method reduces problem of choosing improper working behaviors in Standard Allowance Minute calculation. The outcome of this research is 1.a standard Allowance Minute program which users are divided into 3 levels for security purpose. 2. program that can manages the database of work process in any Garment factories 3. program manual. The validate show SAMs from this program are very close to the result from MRL.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวัดวิธี-เวลen_US
dc.subjectระบบการประมาณเวลาของการเคลื่อนไหวที่ทราบล่วงหน้าen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเสื้อผ้า -- ไทยen_US
dc.subjectMethods-time measurementen_US
dc.subjectPredetermined motion time systemsen_US
dc.subjectClothing trade -- Thailanden_US
dc.titleการพัฒนาระบบการคำนวณเวลามาตรฐานจากข้อมูล MTM-2 สำหรับอุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มen_US
dc.title.alternativeDevelopment of standard time calculation system based on MTM-2 for garment industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRein.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kritsada_pu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.13 MBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch1_p.pdfบทที่ 1905.97 kBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch2_p.pdfบทที่ 21.11 MBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch3_p.pdfบทที่ 31.36 MBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch4_p.pdfบทที่ 42.49 MBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch5_p.pdfบทที่ 53.61 MBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch6_p.pdfบทที่ 61.15 MBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_ch7_p.pdfบทที่ 7914.52 kBAdobe PDFView/Open
Kritsada_pu_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก10 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.