Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorปริญดา ลี้รัตนพานิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-01T09:17:31Z-
dc.date.available2008-05-01T09:17:31Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745324949-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6776-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษา 1. วิธีการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน ของกลุ่มเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลความปลอดภัยในการทำงาน 2. ประสิทธิผลของสื่อที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อสร้างความปลอดภัยในการทำงาน 3. การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาของลูกจ้างระดับปฏิบัติการ โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงสำรวจ ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลความปลอดภัยในการทำงาน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและคณะกรรมการความปลอดภัย 2. วิธีการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มเจ้าหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลความปลอดภัยในการทำงานจะใช้การประชุม โดยมีทั้งการเสนอความคิดเห็น แลกเปลี่ยนทัศนคติ และร่วมกันพิจารณาหาข้อสรุปการดำเนินงานร่วมกัน 3. สื่อที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน ได้แก่ สื่อบุคคล สื่อเฉพาะกิจ และสื่อกิจกรรม 4. สื่อที่มีประสิทธิผลที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อสร้างความปลอดภัยในการทำงานมากที่สุดคือ สื่อเฉพาะกิจ โดยเฉพาะสื่อประเภทป้ายสัญลักษณ์ คำเตือนให้ระมัดระวังอุบัติเหตุ 5. การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความปลอดภัยของพนักงานอยู่ในระดับสูง เนื่องจากพนักงานมีความตระหนักในการระมัดระวังตนเองจากอันตรายที่อาจเกิดจากการปฏิบัติงาน และต้องปฏิบัติการกฎ ระเบียบ มาตรการของโรงงานอย่างเคร่งครัดen
dc.description.abstractalternativeTo study 1. the communication process for promoting participation in work safety of those who are responsible for safety in the workplace. 2. the effectiveness of communication media used to increase work safety. 3. the employees' level of participation in promoting work safety. This is a qualitative and quantitative research. Results from the research 1. Safety officers and safety committee are the primary groups responsible for overseeing safety-related activities within the organization. 2. Group meetings, sharing of creative ideas and exchange of opinions, are commonly used by the group responsible for overseeing safety-related activities to come up with solutions to enforce work safety. 3. The key communication media for promoting participation in work safety are interpersonal media, special media, and events. 4. Special media is the most effective element for building safety awareness. Safety and warning signs are by far the most common type of special media used within the organization. 5. The employees' level of participation in promoting work safety is relatively high. This is because they are well aware of the danger that could occur when performing their jobs. Strict safety standards and rules also help in maintaining the level of awareness and participation.en
dc.format.extent3817036 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectการสื่อสารในองค์การen
dc.subjectการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมen
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้างen
dc.titleกระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน ของโรงงานอุตสาหกรรมแม่สีผสมพลาสติกen
dc.title.alternativeThe Communication process for mobilizing participation in promoting work safety in the color concentrated plastic industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prinda_Le.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.