Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67884
Title: A production scheduling method in a knitted fabric dyeing and finishing factory
Other Titles: วิธีการจัดตารางการผลิตในโรงงานฟอกย้อมและตกแต่งผ้ายืด
Authors: Preecha Laoboonlur
Advisors: Manop Reodecha
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Manop.R@Chula.ac.th
Subjects: Production scheduling
Textile industry
การกำหนดงานการผลิต
อุตสาหกรรมสิ่งทอ
อุตสาหกรรมฟอกย้อม
Issue Date: 1999
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This thesis concerns the development of a production scheduling system at a case 7 study, which is a knitted-fabric dyeing and finishing factory. There are many stages in the production process and each process has a number of machines. At present, schedules are planned with experience of schedulers with no formal procedure. There are many problems that arise from this practice, namely unbalanced workload among workstations and departments, high work-in-process, chaotic shop floor, high loss due to defects and long production lead-time. The scheduling system developed in this thesis uses heuristic methodology which is based on constraint-guided heuristic search, group scheduling and dispatching rule. A database is also developed to support the scheduling. Although the scheduling method developed here, being a heuristics , does not guarantee best results, it has been proven very satisfactory. The comparisons between the production performances from the developed method and existing method shows that the production lead-time and work in process are reduced significantly, machine utilization and quality of product are also improved. Reductions of raw material inventory, although not formally measured, are observed.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาระบบการจัดตารางการผลิตในกรณีศึกษาที่เป็นโรงงานฟอกย้อมและตกแต่งสำเร็จผ้ายืด ซึ่งประกอบด้ายหลายขั้นตอนในกระบวนการผลิต และในแต่ละกระบวนการประกอบด้วยเครื่องจักรจำนวนมาก ซึ่งเครื่องจักรมีทั้งที่มีคุณสมบัติเหมือนกันและแตกต่างกัน โดยในปัจจุบันการจัดตารางการผลิตจำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้จัดโดยไม่มีแบบแผนที่ชัดเจน เป็นผลทำให้เกิดปัญหามากมายกล่าวคือ ปริมาณงานในแต่ละขั้นตอนการผลิตเกิดความไม่สมดุล, มีสินค้าระหว่างผลิตรอการผลิตอยู่ในปริมาณสูง, มีความไม่เป็นระเบียบในส่วนการผลิต, ทำให้เกิดความสูญเสียอย่างมากในระบบการผลิต อันเนื่องมาจากความบกพร่องนี้ และทำให้ระยะเวลาการผลิตล่าช้า ระบบการจัดตารางการผลิตที่ได้พัฒนาขั้นนี้ใช้หลักคิดในการจำแนกแยกแยะ (Heuristic Methodology) ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อจำกัดทางการผลิตและการค้นหาแบบจำแนกแยกแยะ (Guided Heuristic Search) โดยการนำการจัดกลุ่มและกฎการดิสแพทชิ่ง (Dispatching rule) เป็นหลักการที่สำคัญ ในการจัดตารางการผลิต และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้ถูกพัฒนาขั้นเพื่อสนับสนุนในการจัดแผนการผลิตนี้ ถึง แม้ว่าวิธีการจัดทำตารางที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ (โดยใช้วิธีการจำแนกแยกแยะ) ไม่สามารถรับประกันได้ว่าจะก่อให้เกิดผลที่ดีที่สุด แต่มันได้แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาขั้นได้อย่างชัดเจน การเปรียบเทียบระบบการผลิตระหว่างวิธีที่ได้พัฒนาขึ้นนี้กับวิธีที่มีอยู่ก่อนนั้นแสดงให้เห็นว่าระยะ เวลาในการผลิตนั้นลดลงอย่างเห็นได้ชัด การใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรและคุณภาพของผลิตกัณฑ์ก็มีเพิ่มขึ้น อีกทั้งลดปริมาณการรอของสินค้าระหว่างผลิตในส่วนของการตกแต่งสำเร็จ และถึงแม้จะไม่ได้ทำการวัดแต่การลดลงของวัตถุดิบที่เก็บไวัก็เห็นได้อย่างชัดเจน
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1999
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67884
ISBN: 9743335471
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preecha_la_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ952.41 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_ch1_p.pdfบทที่ 1839.26 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_ch2_p.pdfบทที่ 2979.3 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_ch3_p.pdfบทที่ 31.01 MBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_ch4_p.pdfบทที่ 41.92 MBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_ch5_p.pdfบทที่ 51.08 MBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_ch6_p.pdfบทที่ 6701.71 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_la_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก5.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.