Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6797
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีรักษ์ ศรีทองชัย | - |
dc.contributor.author | ดาริกา สิมาพัฒนพงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-02T08:27:26Z | - |
dc.date.available | 2008-05-02T08:27:26Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745323772 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6797 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตของโรงงานผลิต ชิ้นส่วนยางอะไหล่กรณีศึกษาแห่งหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิต ให้มากยิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่เกิดจากการผลิตไม่มีประสิทธิภาพมีหลายประการ แต่ปัญหาหลักก็คือการที่โรงงานไม่สามารถผลิตได้ตามแผนที่วางไว้ ซึ่งส่งผลให้ส่งมอบสินค้า ไม่ทันตามกำหนดเวลา โดยสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหานี้มาจากการวางแผนการผลิตที่ไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ ประกอบกับไม่มีการรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นต่อการวางแผนการผลิต รวมถึงปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัญหาเครื่องจักรและแม่พิมพ์มีสภาพไม่พร้อมใช้งานและ เกิดการเสียกะทันหันบ่อยครั้ง เป็นต้น จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นผู้วิจัยจึงได้เสนอแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาโดยการปรับปรุงระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต มีการปรับปรุงโดย ใช้โปรแกรมระบบฐานข้อมูล ACCESS เข้ามาช่วยในการวางแผนการผลิต พร้อมทั้งทำการ ควบคุมปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต คือ จัดให้มีการทำแผนตรวจเช็คและบำรุงรักษา เครื่องจักร มีระบบการจัดการแม่พิมพ์ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักของการผลิตขึ้นรูป และการวางแผน ฝึกอบรมให้แก่พนักงาน โดยผลหลังจากดำเนินการปรับปรุงโรงงานกรณีศึกษาแห่งนี้ พบว่าการผลิต เป็นไปตามแผนการผลิตที่วางไว้มากขึ้น คือ ประสิทธิภาพการใช้เครื่องจักรกจากก่อนปรับปรุง 93.91% เป็น 95.26% และการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้าได้ทันเวลาและจำนวนครบตามที่กำหนด จากก่อนปรับปรุง 90.8% เป็น 95.48% หลังการปรับปรุง พร้อมทั้งสามารถลดอัตราของเสียที่เกิดขึ้น จากเดิม 2.82% เป็น 1.94% | en |
dc.description.abstractalternative | The thesis is to study for a guideline to improve production process in rubber spare-parts industry. The objectives are to increase efficiency and productivity. The study showed several root causes that many affect productivity. Major causes are the delay of production schedule to ineffective production planning, insufficient information required for planning, machine breakdown and etc. The followings are alternative approaches for productivity improvement. Improve operational methods by program using ACCESS database management system. Setup maintenance plan and machines checking schemes. Molds management system. Conduct training program operators. As a result, production efficiency improve from 93.19% to 95.26%, the rate of delivery on time is increased from 90.8% to 95.18% and finally the scrap are decreased from 2.82% to 1.94%. | en |
dc.format.extent | 4439734 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1188 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมยางรถ | en |
dc.subject | การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม | en |
dc.title | การเพิ่มผลผลิตสำหรับโรงงานชิ้นส่วนยางอะไหล่ | en |
dc.title.alternative | Productivity improvement for rubber spare-parts industry | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.1188 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dariga.pdf | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.