Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67998
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรันดร์ แสงสวัสดิ้-
dc.contributor.advisorประสาร มาลากุล ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorปิยานี จิตร์เจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-09-18T07:27:26Z-
dc.date.available2020-09-18T07:27:26Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.issn9743466762-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67998-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดม่งหมายเพื่อศึกษาผลของการฝึกการคิดโดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลหล่มเก่า จำนวนทั้งหมด 36 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ในระยะการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการฝึกใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบ จำนวน 12 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมทำกิจกรรมตามปกติ ผู้วิจัยทำการวัดความลามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทุกคนด้วยแบบวัดความลามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ และแบบเกณฑ์ประเมินการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์จากงานประดิษฐ์ ในระยะก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าที ผลจากการวิจัยพบว่า 1. คะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมในแต่ละระดับของบุคคลที่มีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. คะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองในแต่ละระดับของบุคคลที่มีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. คะแนนการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์จากงานประดิษฐ์หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมในแต่ละระดับของบุคคลที่มีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. คะแนนการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์จากงานประดิษฐ์หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองในแต่ละระดับของบุคคลที่มีคะแนนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research was to study the effects of thinking practice by six thinking hats technique on creative problem solving of Prathom suksa five students. The subjects were 36 Prathom suksa five students from Lomkao school. They were randomly assigned into experimental group and control group with 18 each. The experimental group was trained 12 activities using the six thinking hats technique while the control group performed usual activities. All subjects were tested on creative problem solving and creative problem solving from their crafts before and after treatment. The statistical techniques use in analysis the data were the t - test. The results were as allows : 1.The students in the experimental group had higher scores on creative problem solving on the post – test than the students in the control group in each levels of scores of creative problem solving at the significant level of .01 2. The students in the experimental group had higher scores on creative problem solving on the post – test than their scores on the pre - test in each levels of scores of creative problem solving at the significant level of .01 3. The students เท the experimental group had higher scores on creative problem solving from their crafts post - test than the students in the control group in each levels of scores of creative problem solving at the significant level of .01 4. The students in the experimental group had higher scores on creative problem solving from their crafts post - test than their scores on the pre - test in each levels of scores of creative problem solving at the significant level of .01en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.473-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดและการคิดen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.subjectการแก้ปัญหาen_US
dc.subjectThought and thinkingen_US
dc.subjectCreative thinkingen_US
dc.subjectProblem solvingen_US
dc.titleผลของการฝึกการคิดโดยใช้เทคนิคหมวกความคิดหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeEffects of thinking practice by six thinking hats technique on creative problem solving of prathom suksa five studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorprasan@kbu.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.473-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyanee_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ294.95 kBAdobe PDFView/Open
Piyanee_ch_ch1.pdfบทที่ 11.66 MBAdobe PDFView/Open
Piyanee_ch_ch2.pdfบทที่ 2752.32 kBAdobe PDFView/Open
Piyanee_ch_ch3.pdfบทที่ 3415.93 kBAdobe PDFView/Open
Piyanee_ch_ch4.pdfบทที่ 4137.23 kBAdobe PDFView/Open
Piyanee_ch_ch5.pdfบทที่ 5185.1 kBAdobe PDFView/Open
Piyanee_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.