Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสมชาย พวงเพิกศึก-
dc.contributor.authorณวัชร์ พงษ์พานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-09-21T01:47:04Z-
dc.date.available2020-09-21T01:47:04Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.issn9743332138-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68024-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยที่แสดงถึงการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการศึกษาการเขียนชุดคำสั่ง G-Code สำหรับควบคุมการทำงานของเครื่องกลึงซีเอ็มซี เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการเริ่มต้นศึกษาการเขียนชุดคำสั่ง บนเครื่องจักรจริง โปรแกรมถูกพัฒนาขึ้นในรูปแบบของตัวแปลภาษา(Interpreter) โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ส่วนหลักคือ ส่วนรับข้อมูลจาดผู้ใช้ซึ่งเป็นลักษณะของ Text Editor ส่วนตรวจสอบไวยากรณ์ของชุดคำสั่ง และส่วนแสดงผลเป็นภาพเคลื่อนไหว และโปรแกรมได้รับการออกแบบโดยพิจารณาถึงความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้พร้อมทั้งมีระบบช่วยเหลือเพื่อช่วยให้ผู้ใช้เริ่มใช้สามารถใช้โปรแกรมและเขียนชุดคำสั่งได้อย่างรวดเร็ว โดยชุดคำสั่ง G-Code ที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ การกำหนดตำแหน่ง(GOO) การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง(GO1) การเคลื่อนที่ในแนวโค้งตามเข็มนาฬิกา(GO2) การเคลื่อนที่ในแนวโค้งทวนเข็มนาฬิกา (GO3) และการกลึงเกลียว(G27) และในการอ้างอิงตำแหน่งผู้ใช้สามารถอ้างอิงได้ทั้งในระบบการอ้างอิงแบบสัมบูรณ์ และการอ้างอิงแบบบวกเพิ่ม โดยหน่วยที่ใช้สามารถกำหนดได้ทั้งมาตราอังกฤษ และมาตราเมตริก-
dc.description.abstractalternativeThis thesis is aimed to develop computer software for accompanying CNC Lathe G-Code training in order to reduce cost and accidents, which may occur during training on real CNC machine. Developed as an interpreter, this program consists of 3 parts: User Input In Text Editor format. Syntax Checker, and Output in animation. With friendly Graphic User Interface. this program will facilitate self-study for the beginner to quickly use and write G-code. The G-Code commands used in this thesis are positioning (GOO), linear interpolation (G01) clockwise circular Interpolation (G02) counterclockwise circular interpolation (G03) and thread cutting (G32). This programmer’s position reference is compatible with absolute reference as well as increment reference and can be conducted by using both the metric and the English systems.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา-
dc.subjectการกลึงไม้ -- การจำลองแบบ-
dc.subjectการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์)-
dc.titleการจำลองการทำงานของเครื่องกลึงซีเอ็นซีบนคอมพิวเตอร์-
dc.title.alternativeSimulation of CNC lathe on personal computer-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nawat_po_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ794.42 kBAdobe PDFView/Open
Nawat_po_ch1_p.pdfบทที่ 1728.49 kBAdobe PDFView/Open
Nawat_po_ch2_p.pdfบทที่ 2882.9 kBAdobe PDFView/Open
Nawat_po_ch3_p.pdfบทที่ 31.95 MBAdobe PDFView/Open
Nawat_po_ch4_p.pdfบทที่ 4900.04 kBAdobe PDFView/Open
Nawat_po_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.