Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย ประสิทธ์จูตระกูล-
dc.contributor.authorพรพิศ วงศ์ทองแถม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-07T02:25:20Z-
dc.date.available2020-10-07T02:25:20Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.issn9743324445-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68372-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการออกแบบและการพัฒนาการจินตทัศน์การวิเคราะห์ถัวเฉลี่ย โดยจะใช้โครงสร้างข้อมูลหกโครงสร้างเป็นกรณีศึกษา ได้แก่ ตารางไดนามิก ตัวนับเลขฐานสอง ไบโนเมียลฮีพ เลซี่ไบโนเมียลฮีพ ฟิโบนักชี่ฮีพ และสคิวฮีพ สำหรับการวิเคราะห์ถัวเฉลี่ยในโครงสร้างข้อมูลจะใช้วิธีศักย์ ระบบนี้พัฒนาโดยใช้ภาษาจาวาและเฮชทีเอ็มแอล เป็นรูปแบบในการนำเสนอ เพราะเป็นรูปแนบที่ได้รับความนิยมมาก ในการนำเสนอบนเวิลด์ไวด์เวบ อีกทั้งยังสามารถใช้ได้กับหลากหลายระบบ รูปแบบแบ่งเป็นสามรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบไฮเปอร์เท็กซ์ รูปแบบภาพเคลื่อนไหวที่ควบคุมและโต้ตอบได้ และรูปแบบภาพเคลื่อนไหวที่ไม่สามารถควบคุมและโต้ตอบได้ บทจินตทัศน์หนึ่ง ๆ ประกอบด้วยสองกลุ่มขององค์ประกอบ คือ (1) ส่วนอัลกอริทึม สามารถดำเนินการแทรก ลบ รวม และลดค่าคีย์ (2) ส่วนกลางการวิเคราะห์ถัวเฉลี่ย แบ่งเป็นสามส่วน ส่วนที่หนึ่ง คือ การแสดงด้วยตัวเลขระบุการคิดต้นทุนจริง ฟังก์ชันศักย์ ต้นทุนถัวเฉลี่ย ส่วนที่สอง คือ การแสดงด้วยกราฟเส้น และส่วนที่สาม คือ ส่วนแปลงสูตรการคิดฟังก์ชันศักย์เพื่อการวิเคราะห์ ระบบนี้เหมาะสำหรับใช้เพื่อการศึกษาพฤติกรรมของโครงสร้างข้อมูลต่าง ๆ ข้างต้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะข้อมูลเข้า และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสูตรการคิดฟังก์ชันศักย์ และเป็นระบบที่ได้รับการพัฒนาเพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาการจินตทัศน์การวิเคราะห์ถัวเฉลี่ยในโครงสร้างข้อมูลอื่น ๆ ต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents a design and development of amortized analysis visualization by using six data structures as ease-studies: dynamic table, binary counter, binomial heap, lazy binomial heap. Fibonacci heap and skew heap. Potential method is used in the amortized analysis. The system was developed by using Java and HTML language due to its platform independent and its popularity in presentation on the World Wide Web. There are three presentation formats: hypertext, non-interactive animation, and interactive animation. Each visualization session consists of two classes of components: algorithms and amortized analysis. Algorithm session user can insert key, delete minimum key, combine two heaps, and decrease key. Amortized analysis session has three views. The first view shows the current actual cost, potential energy, and amortized cost. The second view draws line graphs of numbers in the first view. And the last view is used for changing current potential energy formula. The system is well-suited for studying behaviours of the data structure when varying input data and potential energy formula. Besides the system was developed as a prototype for further development in visualizing amortized analysis more data structure.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอัลกอริทึมen_US
dc.subjectจินตทัศน์en_US
dc.subjectAlgorithmsen_US
dc.titleการจินตทัศน์การวิเคราะห์ถัวเฉลี่ยโดยใช้จาวาและเอชทีเอ็มเอลen_US
dc.title.alternativeVisualization amortized analysis using Java and HTMLen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsomchaip@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornpit_wo_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ500.82 kBAdobe PDFView/Open
Pornpit_wo_ch1.pdfบทที่ 1443.55 kBAdobe PDFView/Open
Pornpit_wo_ch2.pdfบทที่ 2678.12 kBAdobe PDFView/Open
Pornpit_wo_ch3.pdfบทที่ 31.3 MBAdobe PDFView/Open
Pornpit_wo_ch4.pdfบทที่ 42.3 MBAdobe PDFView/Open
Pornpit_wo_ch5.pdfบทที่ 5111.53 kBAdobe PDFView/Open
Pornpit_wo_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก916.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.