Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6888
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธราพงษ์ วิทิตศานต์ | - |
dc.contributor.author | รังสรรค์ ละวรรณา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-14T08:23:49Z | - |
dc.date.available | 2008-05-14T08:23:49Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743335196 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6888 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | การเตรียมถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์มน้ำมัน โดยกระตุ้นด้วยพลังงานไมโครเวฟ มีวิธีการเตรียมแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ การคาร์บอไนซ์ การดูดซับแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ให้อิ่มตัวบนถ่านชาร์ และการกระตุ้นด้วยพลังงานไมโครเวฟ ขั้นตอนแรกทำการคาร์บอไนซ์โดยใช้อุณหภูมิคาร์บอไนซ์ 400 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน 60 นาที ได้ผลิตภัณฑ์ถ่านชาร์ร้อยละ 31.72 ปริมาณสารระเหยร้อยละ 18.87+-0.14 ปริมาณเถ้าร้อยละ 9.89+-0.06 ปริมาณคาร์บอนคงตัวร้อยละ 69.41+-0.09 ค่าพื้นที่ผิว BET 152+-4 ตารางเมตรต่อกรัม การดูดซับแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่มีความเข้มข้น 2000 พีพีเอ็ม ให้อิ่มตัวบนถ่านชาร์ ทำได้โดยการดูดซับในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร เป็นเวลานาน 420 นาที การกระตุ้นในหลอดแก้วทนไฟรูปตัวยู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 เซนติเมตร ยาว 150 เซนติเมตร กว้าง 100 เซนติเมตร ติดตั้งอยู่ภายในเตาไมโครเวฟ ตัวแปรที่ศึกษาคือ เวลาในการกระตุ้นช่วง 30 ถึง 180 นาทีพลังงานการกระตุ้นช่วง 225 ถึง 500 วัตต์ และจำนวนรอบของการทำการดูดซับแล้วนำมากระตุ้นโดยทำซ้ำกันให้ขนาดอนุภาคถ่านที่ใช้ช่วง 1.18 ถึง 2.36 มิลลิเมตร ได้ภาวะที่เหมาะสมคือ เวลาในการกระตุ้น 90 นาที พลังงานในการกระตุ้น 450 วัตต์ และจำนวนรอบของการทำการดูดซับแก๊สแล้วนำมากระตุ้นรอบที่ 2 ได้ถ่านกัมมันต์ที่มีสมบัติดังนี้ ค่าการดูดซับไอโอดีน 1385+-11 มิลลิเมตรต่อกรัม ค่าการดูดซับเมทธิลีนบลู 235+-6 มิลลิกรัมต่อกรัมค่าความหนาแน่นปรากฏ 0.659 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ค่าความเป็นกรด-ด่าง 8.11 ค่าพื้นที่ผิว BET 1172+-49 ตารางเมตรต่อกรัม การเตรียมถ่านกัมมันต์โดยวิธีนี้มีข้อดี 2 ประการคือ ถ่านชาร์ในตอนแรกและถ่านกัมมันต์ที่ได้ในการกระตุ้นรอบแรก สามารถดูดซับแก๊สพิษได้ดีแล้วนำมากระตุ้นจะได้พื้นที่ผิวเพิ่มมากขึ้นอีก | en |
dc.description.abstractalternative | The preparation of activated carbon from palm-oil shell by activation with microwave energy was divided to three steps: carbonization, sulphur dioxide adsorption and microwave activation. The first step, carbonization was carried out at 400 ํC for 60 minutes. The characteristics of char were % yield of 31.72, % volatile matter of 18.87+-0.14, % ash of 9.89+-0.06, % fixed carbon of 69.41+-0.09 and BET surface area of 152+-4 m2/g. Sulphur dioxide 2000 ppm. was adsorbed for 420 min. by the prepared char until reaching the equilibrium at room temperature in reactor diameter 5 cm. and 30 cm. of height. The activation with microwave energy was carried out in Pyrex tube (U-shape) reactor, diameter of 28 mm., length of 150 mm., and height of 100 mm. The reactor was set up in microwave oven. The studied variables were: activation time (range of 30-180 min.), activation energy (range of 225-500 watts.), and number of cycles of adsorption and activation from 1 to 4 times. The optimum condition from experimental results were: activation time of 90 min., activation energy of 450 watt., and second cycle of adsorption and activation. The characteristics of activated carbon produced at the optimum condition were: iodine adsorption number 1385+11 mg/g., methylene blue adsorption number 235+6 mg/g., bulk density 0.659 g/cm3, pH 8.11, BET surface area 1172+49 m2/g. The advantages of this method for preparation of activated carbon were that Sulphur dioxide adsorption on char using in the process was supplied from the flue gas in electrical power plant which used coal as raw material. By microwave energy activation, the SO2 adsorbed char or carbon turns out to have very high surface area. | en |
dc.format.extent | 7645428 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คาร์บอนกัมมันต์ | en |
dc.subject | ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ | en |
dc.subject | การดูดซับ | en |
dc.subject | ไมโครเวฟ | en |
dc.title | การเตรียมถ่านกัมมันต์โดยรีดักชันของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ถูกดูดซับบนถ่านชาร์ จากกะลาปาล์มน้ำมันด้วยพลังงานไมโครเวฟ | en |
dc.title.alternative | Preparation of activated carbon by reduction of SO2 adsorbed on palm-oil char with microwave energy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | tharapong.v@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
rungsan.pdf | 7.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.