Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญเรือน กิติวัฒน์-
dc.contributor.authorโกวิท สว่างวารีสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-30T03:05:57Z-
dc.date.available2020-10-30T03:05:57Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746397133-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68923-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาของกระบวนการใช้กลยุทธ์สารผ่านรายการโทรทัศน์เพื่อการรณรงค์ ขยะแยกประเภท และศึกษาลักษณะเนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอผ่านรายการโทรทัศน์โดยการเลือกรายการโทรทัศน์ "คิดเป็น ใช้เป็น” จำนวน 182 ตอน และรายการ ’’ขบวนการคุณสะอาด” จำนวน 238 ตอน ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รายการ “คิดเป็น ใช้เป็น” และรายการ ''ขบวนการคุณสะอาด" เป็นรายการสารคดีโทรทัศน์ขนาดสั้น เสนอประเด็นเนื้อหาได้เพียงตอนละ 1 ประเด็น โดยใช้กลยุทธ์สารที่สอดคล้องกับแนวความคิดการตลาดเพื่อสังคม กล่าวคือ รายการ ‘‘คิดเป็น ใช้เป็น” จะมีกลุ่มเป้าหมายสื่อสาธารณชนโดยกว้าง เนื้อหาครอบคลุมกระบวนการแยกขยะก่อนทิ้ง การนำขยะมารีไซเคิล การประดิษฐ์สิ่งของจากขยะ บทบาทของภาครัฐ เอกชนและประชาซนในการแก้ไขปัญหาขยะ นำเสนอด้วย ท่วงทำนองที่สั้น กระชับ ตรงเข้าประเด็น ใช้พิธีกรที่มีบุคลิกน่าเชื่อถือ ชี้แจงข้อมูลและเหตุผลเพื่อเป็นแรงจูงใจ ขณะเดียวกัน ได้พยายามประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์กรในด้านการรณรงค์สิ่งแวดล้อมไปพร้อม ๆ กับการปรับทัศนคติของประชาชนที่ยังมีภาพลบกับผลิตภัณฑ์พลาสติกให้กลับมาเห็นว่า พลาสติกช่วยลดการใช้ทรัพยากร ป่าไม้ และสามารถนำมารีไซเคิลได้ใหม่อีกด้วย ส่วนรายการ '‘ขบวนการคุณสะอาด” มีผู้ชมกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กประถมวัย ดังนั้นการออกแบบสารจึงไม่ซับซ้อน เน้นเนื้อหาการนำสิ่งของเหลือทิ้งกลับมาประดิษฐ์สิ่งของใช้ใหม่มากกว่าเนื้อหาด้านอื่น ๆ และเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวกับ การนำขยะมารีไซเคิลหมุนเวียนไปตามประเภทวัสดุขยะ มีการนำรูปแบบละครมาผสม ใช้ตัวการ์ตูน "คุณสะอาด’’ มาแสดงร่วมกับพิธีกรเด็ก เชื่อมโยงประเด็นเนื้อหาโดยผ่านบทสนทนาอย่างเป็นกันเอง โดยใช้แรงจูงใจด้วยสิ่งเร้าประเภทอารมณ์ขัน เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินในการชมรายการ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to study the process of the usage of the massage strategic through the television medium for the promotion of the garbage segregation program and also to study the contents and method of presentation through the television medium based on the 182 televised parts of the program: "Kid Pen Chai Pen", and based also on the 238 televised parts of the program "Kabuangarn Khun Sa-ad", which were aired during 1996. Results of the research 1. The "Kid Pen Chai Pen" and the "Kabuangarn Khun Sa-ad" programs are short television features programs which can only present one topic/subject matter in one airing. The strategic way of message transmission was in accordance with social marketing, that is to say the programs "Kid Pen Chai Pen's target group is the general public audience. The context of aired sessions cover the process of garbage segregation, recycling, inventing or producing things from discarded materials, the role s of the public and private sector sand people in general in there solution of the garbage problems. The presentation methodology is short, concise, and clear to the" point. The programs employ well - known Mcs with a creditable personality to present the information and reasoning as incentives for the programs. At the same time, an attempt was made to publicize and promote the organization's good image in the promotion of environmental preservation together with an attempt to realise the people's negative thoughts on plastic products towards the idea that plastics do contribute towards the lesser use of the trees and that plastics can be recycled. 2. The "Kabuangarn Khun Sa-ad " program's target group are the children of early elementary school ages; therefore, the design of the massage was not complicated and focused mainly upon the usage of discarded materials for the invention of new and useful products. The program also promoted recycling of many categories of discarded materials. The program also employed dramatization and the use of "Khun Sa-ad's animation, as a cartoon character, together with children Mcs, and to attempt to correlate the desired contexts through the use of informal dialogues and humor to create enjoyment in the viewing of the programs.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectการคัดแยกขยะen_US
dc.subjectรายการโทรทัศน์en_US
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดen_US
dc.subjectContent analysis (Communication)en_US
dc.subjectTelevision programsen_US
dc.subjectCommunication in marketingen_US
dc.titleกลยุทธ์สารในรายการโทรทัศน์เพื่อรณรงค์ขยะแยกประเภทen_US
dc.title.alternativeMassage strategy of TV programe for the garbage segregation campaignen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKwanruen.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kowit_sa_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ848.98 kBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_ch1_p.pdfบทที่ 1884.64 kBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_ch2_p.pdfบทที่ 21.33 MBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_ch3_p.pdfบทที่ 3708 kBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.13 MBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_ch5_p.pdfบทที่ 51.42 MBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_ch6_p.pdfบทที่ 6669.23 kBAdobe PDFView/Open
Kowit_sa_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก4.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.