Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68962
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียง ตั้งสง่า-
dc.contributor.advisorสมชาย เอี่ยมอ่อง-
dc.contributor.authorธนิต จิรนันท์ธวัช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-30T08:17:53Z-
dc.date.available2020-10-30T08:17:53Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743317465-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68962-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractที่มาและเหตุผล การประเมินความเพียงพอของการฟอกเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีฟอกเลือด วิธีประเมินความเพียงพอของการฟอกเลือดจะดูจากสัดส่วนการขจัด urea ออกจากร่างกายโดยเทียบกับ ปริมาตรการกระจายของยูเรีย นั่นคือค่า K1/V เพื่อไม่ให้มีผลกระทบจากภาวะ urea rebound จะใช้ค่า equilibrated BUN ซึ่งได้จากการเจาะเลือดหลังเสร็จสิ้นการฟอกเลือด 30-60 นาที ในการคำนวณเพื่อให้ได้ค่า equilibrated K1/V (eK1/V) แม้ว่าค่า eK1/V สามารถคำนวณได้หลายวิธี แต่วิธีมาตรฐานมีความยุ่งยากในทางปฏิบัติวิธี rate adjustment เป็นวิธีใหม่ที่ปรับค่า variable volume, single pool K1/V โดยใช้สมการเชิงเส้น ซึ่งความชันของสมการสัมพันธ์กับอัตราเร็วของการฟอกเลือด (K/V) อย่างไรก็ตามยังไม่มีข้อมูลของการใช้วิธีนี้ในผู้ป่วยที่รับการฟอกเลือด 2 ครั้งต่อสัปดาห์ วิธีการศึกษา ค่า K1/V ในผู้ป่วยที่รับการฟอกเลือด 2 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยใช้วิธีคำนวณ 4 วิธี รวม 6 ค่า คือ 1) วิธี empirical (Emp), 2) วิธีของ Smye (Sm), 3) วิธี Second generation of natural logarithm ของ Daugirdas โดยใช้ค่า postdialysis BUN และ 30-minute postdialysis BUN (Dau, Dau30), 4) วิธี rale adjustment โดยใช้ค่า postdialysis BUN และ 30-minute postdialysis BUN (Rate, Rate30) นำไปเปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐานทางด้านเลือดคือ formal variable volume, double pool urea kinetic model (DP) และวิธีมาตรฐานทางด้าน ไดอะลัยซิสคือ modified Direct Dialysate Quantitative method (mDDQ) ซึ่งเก็บน้ำยาไดอะลัยซิสทั้งหมด (Dtotal) นอกจากนั้นการศึกษานี้ยังได้เสนอวิธี mDDQ ซึ่งเก็บน้ำยาไดอะลัยซิสเป็นจุดเวลาทุกชั่วโมง (Dspot) เพื่อประเมินค่า K1/V อีกด้วย ผลการศึกษา ผู้ป่วยที่เข้ารับการศึกษาได้รับการฟอกเลือดที่เพียงพอ โดยมีค่า K1/V(Dau30) เท่ากับ 1.91 เมื่อ เปรียบเทียบค่า K1/V จากวิธีต่าง ๆ กับวิธี mDDQ (Dtotal) วิธีที่มีค่า median ของ absolute ของความแตกต่างของค่า K1/V จากน้อยไปมากคือ Rate30 (0.10); Dau30, Rate, Sm (มีค่า median ดังกล่าวเท่ากันคือ 0.11); Emp (0.13); Dau (0.35) โดยมีค่า r ตามลำดับ ดังนี้ 0.962, 0.974, 0.886, 0.793, 0.742, 0.898 และเมื่อเปรียบเทียบค่า K1/V จากวิธีต่าง ๆ กับวิธี DP วิธีที่มีค่า median ของ absolute ของความแตกต่างของค่า K1/V จากน้อยไปมากคือ Rate30 (0.04), Sm (0.17), Emp (0.19), Rate (0.22), Dau30 (0.24), Dau (0.48) โดยมีค่า r ตามลำดับดังนี้ 0.956, 0.75, 0.668, 0.829, 0.958, 0.826 และเมื่อเปรียบเทียบค่า K1/V ของวิธี Dtotal และ Dspot พบว่ามีค่า median ของ absolute ของความแตกต่างของค่า K1/V และค่า r เท่ากับ 0.01 และ 0.991 ตามลำดับ ข้อสรุป 1. ค่า K1/V โดยวิธี rate adjustment โดยใช้ค่า equilibrated BUN (Rate30) มีความ ถูกต้องและความสัมพันธ์ที่ดีกับวิธี mDDQ (Dtotal) 2. ค่า K1/V โดยวิธี mDDQ ที่ใช้วิธีเก็บตัวอย่างน้ำยาไดอะลัยซิสเป็นจุดเวลาทุก 1 ชั่วโมง (Dspot) มีความถูกต้องและความสัมพันธ์ที่ดีกับวิธี mDDQ (Dtotal)-
dc.description.abstractalternativeBackground Assessing of the adequacy of hemodialysis is important in caring of the chronic hemodialysis patients. The parameter of adequacy is the fractional of urea removal, normalized to volume of distribution of urea; K1/V. For the reason of urea rebound, equilibrated BUN from 30-60-minute post dialysis blood is used to achieve equilibrated K1/V (eK1/V). The standard methods are so cumbersome to practical use, so a number of alternative methods to approximating eK1/V were developed. The rate adjustment method is a new technique, adjusted the variable volume, single pool K1/V using linear equation with its slope relate to the rate of dialysis (K/V). However, the application of this method in 2 times per week hemodialysis patients has not been established. Method Approximating K1/V of 2 times per week hemodialysis patients by 4 methods of 6 K1/V values: 1) Empirical method (Emp), 2) Smye method (Sm), 3) Second generation of natural logarithm of Daugirdas using postdialysis BUN and 30-minute postdialysis BUN (Dau, Dau30), 4) Rate adjustment method using postdialysis BUN [and] 30-minute postdialysis BUN (Rate, Rate30). Comparing these K1/V to the blood side standard method [formal variable volume, double pool urea kinetic model (DP)] and to the dialysate side standard method [modified Direct Dialysate Quantitative method (mDDQ) using the total collection of dialysate (Dtotal)]. The study also introduces mDDQ method using hourly sampling of dialysate (Dspot) to approximating K1/V. Result The studied patients had adequate hemodialysis doses, mean K1/V(Dau30) were 1.91. Comparing to the blood side standard method, methods that have the median absolute difference between K1/V in order from the least were Rate30 (0.10); Dau30, Rate, Sm (0.11); Emp (0.13); Dau (0.35) and their r values were 0.962, 0.974, 0.886, 0.793, 0.742, 0.898 respectively. Comparing to the dialysate side standard method, methods that have the median absolute difference between K1/V in order from the least were Rate30 (0.04), Sm (0.17), Emp (0.19), Rate (0.22), Dau30 (0.24), Dau (0.48) and their r values were 0.956, 0.75, 0.668, 0.829, 0.958, 0.826 respectively. The K1/V by mDDQ (Dspot) correlated well with K1/V by mDDQ (Dtotal), the median absolute difference between K1/V and r were 0.01 and 0.991 respectively. Conclusion 1. The rate adjustment method using equilibrated BUN (Rate30) had good accuracy and correlation with the mDDQ (Dtotal). 2. The mDDQ using hourly sampling of dialysate (Dspot) had good accuracy and correlation with the mDDQ (Dtotal).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการฟอกเลือดen_US
dc.subjectการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมen_US
dc.subjectไตวายเรื้อรังen_US
dc.subjectการเจาะหลอดเลือดดำen_US
dc.subjectChronic renal failureen_US
dc.subjectHemodialysisen_US
dc.subjectVeins -- Punctureen_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบค่าสัดส่วนอีควิลิเบรทเคทีต่อวีของวิธีเรทอัสจัสเมนต์ กับวิธีการคำนวณจากน้ำยาไดอะลัยซิสen_US
dc.title.alternativeComparative study of equilibrated KT/V of rate adjustment method to modified direct dialysate quantitative methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorSomchai.E@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanit_ch_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.08 MBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1755.97 kBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.29 MBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3807.79 kBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.3 MBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5804.21 kBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_ch6_p.pdfบทที่ 6607 kBAdobe PDFView/Open
Thanit_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.