Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68966
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจันทร์ ปราบพาล | - |
dc.contributor.advisor | จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์ | - |
dc.contributor.advisor | สุชาดา ศรีทิพยวรรณ | - |
dc.contributor.author | เธียรชัย บรรณาลัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-10-30T08:44:38Z | - |
dc.date.available | 2020-10-30T08:44:38Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743310606 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68966 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าทดสอบสมรรถภาพปอด และค่าที่ตรวจพบ จาก โพลี่ซอมโนกราฟฟี่ในเด็กที่นอนกรน รูปแบบการวิจัย การวิจัย ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง สถานที่ศึกษา ตึกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ประชากร ผู้ป่วยเด็ก อายุ 1 -12 ปี ที่มีอาการนอนกรนหรือหายใจเสียงดัง และมารับการรักษาที่ฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ วิธีการศึกษา ผู้ป่วยเด็กที่มีอาการนอนกรนหรือหายใจเสียงดัง จะได้รับการทำ โพลี่ซอมโนกราฟฟี่โดยจะกระทำในโรงพยาบาลและห้องที่เงียบสงบ และใช้เวลาอย่างน้อย 5 ชั่วโมงในการนอน เพื่อบันทึกการเคลื่อนไหวของทรวงอกและหน้าห้อง ความแรงของลมหายใจที่ผ่านเข้าออก ทางจมูกและปาก ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อนำมาหาค่า Obstructive Apnea Index จากค่าที่บันทึกดังกล่าว ในวันต่อมาผู้ป่วยจะได้รับการทดสอบสมรรถภาพปอด โดยวิธี tidal breathing เพื่อบันทึกตัวแปรต่าง ๆ และนำค่าตัวแปรต่าง ๆ ที่วัดได้มาหาความสัมพันธ์กับค่า Obstructive Apnea Index ผลการศึกษา ผู้ป่วยเด็กที่มีอาการนอนกรนหรือหายใจเสียงดัง จำนวน 50 คน ได้รับการทำ โพลี่ซอมโนกราฟฟี่ และทดสอบสมรรถภาพปอด เพื่อหาค่า correlation coefficient ระหว่าง Obstructive Apnea Index และ MTEF/MTIF, time to PTIF, PTIF, TIF50%, Ti/Tt, Ti และ time to PTIF/Ti ซึ่งพบว่ามีค่าเท่ากับ 0.1, 0.22, 0.18, 0.21, 0.17, 0.08 และ 0.21 ตามลำดับ โดยที่มีค่า P เท่ากับ 0.97, 0.11, 0.22, 0.15, 0.24, 0.58 และ 0.15 ตามลำดับ บทสรุป ค่าที่วัดได้จากการตรวจสมรรถภาพปอดโดยวิธี tidal breathing ไม่มีความสัมพันธ์อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p value > 0.05 ) กับค่า Obstructive Apnea Index ดังนั้นจึงไม่สามารถใช้การทดสอบสมรรถภาพปอดแทนโพลี่ซอมโนกราฟฟี่ ในการวินิจฉัยภาวะ OSA ในเด็กได้ | - |
dc.description.abstractalternative | OBJECTIVE: To study the correlation between pulmonary function test and polysomnographic findings in snoring children. DESIGN: cross-sectional analytical study. SETTING: Pediatric out-patient and in-patient unit, Chulalongkorn Hospital, Bangkok. PATIENTS: One to twelve years old, snoring children who were examined at the Pediatric Department, Chulalongkorn Hospital. METHOD: All the recruited snoring children were admitted to pediatric ward and underwent polysomnography for at least 5 hours. The chest and abdominal movement, electrocardiogram, nasal-oral airflow and arterial oxygen saturation were measured during their sleep-in order to detect obstructive sleep apnea and obtain the obstructive apnea index. On the following day, pulmonary function test (tidal breathing) was performed to measure various parameters for the detection of upper airway obstruction during sleep. The correlation between the data obtained from pulmonary function test and obstructive apnea index were analyzed. Those correlations with p < 0.05 would be considered significant. RESULT: 50 snoring children were underwent polysomnography and pulmonary function test (tidal breathing). The correlation coefficient between obstructive apnea index and MTEF/MTIF, time to PTIF, PTIF, TIF50%, Ti/Tt, Ti and time to PTIF/Ti which were measured from tidal breathing - pulmonary function test were 0.1, 0.22, 0.18, 0.21, 0.17, 0.08 and 0.21 respectively. The p-values of the corresponding correlations were 0.97, 0.11, 0.22, 0.15, 0.24, 0.58 and 0.15. CONCLUSION: There is no statistically significant correlation between the parameters that are measured from pulmonary function test (tidal breathing) to detect upper airway obstruction and obstructive apnea index. Therefore, pulmonary function test cannot be used instead of polysomnography as a diagnostic tool for obstructive sleep apnea in children. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การนอนกรน | en_US |
dc.subject | ปอด -- การทดสอบหน้าที่ | en_US |
dc.subject | Pulmonary function test | en_US |
dc.subject | Snoring | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างค่าทดสอบสมรรถภาพปอดและค่าที่ตรวจพบจากโพลี่ซอมโนกราฟฟี่ในเด็กที่นอนกรน | en_US |
dc.title.alternative | Correlation between pulmonary function test and polysomnographic findings in snoring children | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กุมารเวชศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | fmednph@md2.md.chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Jitladda.D@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Suchada.Sr@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thianchai_bu_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 870.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thianchai_bu_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 889.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thianchai_bu_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 727.03 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thianchai_bu_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 701 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thianchai_bu_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 758.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thianchai_bu_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 773.72 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thianchai_bu_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 738.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.