Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดา เกียรติกำจรวงศ์-
dc.contributor.advisorพิชญ์ ศุภผล-
dc.contributor.advisorวิยงค์ กังวานศุภมงคล-
dc.contributor.authorวลัยวัลย์ เตียวตระกูลวัฒน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-03T04:24:06Z-
dc.date.available2020-11-03T04:24:06Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69033-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractได้ศึกษาการขึ้นรูปไคโทซานที่มีระดับขั้นการกำจัดหมูแอซีทิลร้อยละ 84ผสมกับพอลิเอทิลีนออกไซด์(พีอีโอ)โดยเทคนิคการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิต พีอีโอช่วยทำให้ขึ้นรูปเส้นใยได้ในสารละลายผสมระหว่างไคโทซานร้อยละ 6.7 โดยน้ำหนักต่อปริมาตรกับพีอีโอร้อยละ 0.3โดยน้ำหนักต่อปริมาตร ละลายในสารละลายผสมของกรดไทรฟลูออโรแอซีติกและไดคลอโรมีเทนอัตราส่วน 70ต่อ30 โดยปริมาตร เส้นใยไคโทซานที่เตรียมได้มีลักษณะเรียบปราศจากปม มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นใย 272 ± 56 นาโนเมตร เมื่อวิเคราะห์โดยเทคนิคสแกนนิงอิเล็กตรอนไมโครสโกปี เส้นใยไคโทซานที่ดัดแปรผิวของเอ็น-(2-ไฮดรอกซิล)โพรพิว-3-ไทรเมทิลแอมโมเนียมไคโทซานคลอไรด์ และเอ็น-เบนซิล-เอ็น,เอ็น-ไดเมทิลไคโทซานไอโอไดด์ที่เตรียมขึ้นเพื่อให้แผ่นเส้นใยนาโนไฟเบอร์ของไคโทซาน/พีอีโอมีหมู่เกลือควอเทอร์นารีแอมโมเนียมยืนยันการเกิดปฏิกิริยาด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปีลักษณะการบวมตัวด้วยน้ำ และเอกซ์เรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปีเมื่อเวลาสัมผัสเชื้อของแผ่นอิเล็กโทรสปันไคโทซานทั้ง 3 ชนิด น้อยกว่า 2 ชั่วโมง อิเล็กโทรสปันไคโทซานที่มีควอเทอร์นารีแอมโมเนียมทั้งสองชนิดมีสมบัติการต้านฤทธิ์แบคทีเรียดีกว่าอิเล็กโทรสปันไคโทซาน/พีอีโอต่อแบคทีเรียแกรมบวกสแตปฟิโลคอกคัสออเรียสและแบคทีเรียแกรมลบเอสเชอริเคียโคไล เมื่อเวลาสัมผัสเชื้อของแผ่นอิเล็กโทรสปันไคโทซานทั้ง 3 ชนิด นานตั้งแต่ 4 ชั่วโมงขึ้นไปฤทธิ์การต้านแบคทีเรียทั้ง 3 ชนิด มีค่าเท่ากันคือ ร้อยละ 99.9en_US
dc.description.abstractalternativeChitosan with a degree of deacetylation of 84% blended with poly(ethylene oxide), (PEO), was fabricated into nanofibrous membranes by electrospinning. The introduction of PEO was to facilitate fiber formation. The spinning solution contained 6.7% (w/v) chitosan and 0.3% (w/v) PEO in 70:30 (v/v)trifluoroacetic acid/dichloromethane. The obtained fibers were smooth without the presence of beads, as confirmed by scanning electron microscopy (SEM). The diameters of the individual fibers were 272 ± 56 nm. The surface modifiedchitosan fibers,N-(2-hydroxyl)propyl-3-trimethylammonium chitosan chloride (HTACC) and N-benzyl-N,N-dimethyl chitosan iodide (QBzCS) were prepared with an aim to incorporate quaternary ammonium salt to the chitosan nanofibrous membranes. The successful reactionswereconfirmedby Fourier-transformed infrared spectroscopy (FTIR), degree of swelling in water, and X-ray photoelectron spectroscopy (XPS). Atcontact times of less than 2 hours, both the quaternizedelectrospunchitosan mats exhibited higher antibacterial activity than did the electrospun chitosan/PEOmats against both the gram-positive bacteria Staphylococcus aureus and gram-negative bacteria Escherichia coli.At the contact times longer than 4 hours, the reduction of both bacteria S. aureus and E. coliagainstchitosan/PEO, HTACC, and QBzCSwasequal at 99.9%en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไคโทซาน-
dc.subjectเส้นใยนาโน-
dc.subjectChitosan-
dc.subjectNanofibers-
dc.titleการดัดแปรผิวนาโนไฟเบอร์ของอิเล็กโทรสปันไคโทซานเพื่อต้านฤทธิ์แบคทีเรียen_US
dc.title.alternativeSurface modification of electrospun chitosan nanofiber for antibacterial activityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuda.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPitt.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Walaiwan_5172441423.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.