Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์-
dc.contributor.authorสรรเพชญ ชื้อนิธิไพศาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-03T08:28:56Z-
dc.date.available2020-11-03T08:28:56Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743325387-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69050-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการลงทุนในการพัฒนา GIS ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในการจัดทำข้อมูล ซึ่งสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ได้จัดทำไว้แล้วเพื่อให้ใช้ประโยชน์ในวงกว้างกระทำได้ลำบาก เนื่องจากผู้ใช้แต่ละคนจำเป็นต้องลงทุนในการจัดหาซอฟท์แวร์ทางด้าน GIS ซึ่งเป็นซอฟท์แวร์เฉพาะทางในการจัดการและแสดงผลข้อมูล แม้ในปัจจุบันจะมีซอฟท์แวร์ที่เผยแพร่ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่การบำรุงรักษาซอฟท์แวร์ก็ยังเป็นปัญหา เนื่องจากผู้ใช้ต้องมีการติดตั้งซอฟท์แวร์ใหม่ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงฟังก์ชั่น นอกจากนี้ซอฟท์แวร์ GIS ยังขึ้นกับชนิดของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ซึ่งมีอยู่หลากหลายชนิด ทั้งหมดนี้เป็นอุปสรรคสำคัญในการเผยแพร่สารสนเทศภูมิศาสตร์ใน ปัจจุบัน ที่ผ่านมาการใช้ WWW บนอินเตอร์เนตเป็นแนวโน้มที่ชัดเจนในการเผยแพร่ข้อมูลออกไปในวงกว้าง งานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษาแนวคิดในการขยายขีดความสามารถของ WWW เพื่อเผยแพร่สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อขจัดอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากวิธิการตั้งเดิม โดยการศึกษาแบ่งออกเป็นสามส่วนหลักคือ หนึ่ง การวิเคราะห์เพื่อกำหนดรูปแบบข้อมูลภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมในการเผยแพร่ซึ่งได้ กำหนดให้เป็น Shape File เนื่องจากมีโครงสร้างที่เข้าใจง่ายและเปิดเผย อีกทั้งได้รับการสนับสนุนจากซอฟท์แวร์ GIS ทั่วไป สอง การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางด้าน GIS โดยใช้ภาษา Java เนื่องจากสามารถใช้งานได้กับทุกระบบปฏิบัติการ การประมวลผลอยู่ที่เครื่องผู้ใช้ ทำให้ลดภาระการประมวลผลที่เครื่องให้บริการ และสาม การพัฒนา CGI เพื่อใช้ด้นคืนข้อมูลอรรถาธิบาย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความเป็นไปได้และความเหมาะสมในการเผยแพร่ สารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านอินเตอร์เนต จากการทดสอบพบว่าโปรแกรมประยุกต์มีคุณสมบัติ cross platform จริง และจากการจับเวลาการ Download โปรแกรมประยุกต์ พบว่าความเร็วอยู่ในเกณฑ์ที่ ยอมรับได้-
dc.description.abstractalternativeDatabase creation has been major cost of GIS development projects. The distribution of created geographic data in order to utilized the investment has been troublesome because users must purchase a GIS software package to manage and display data. Although currently public domain software is available, users still have to install and upgrade the software each lime it is modified. Furthermore, GIS software packages run on different computing platforms. All of these is an obstacle impeding the widespread use of geographic data. It has been cloat that WWW is a maicr trend as a data-distribution utility over the Internet. This research explores the idea of extending WWW capability to propagate geographic data in order to overcome the problems mentioned above. The research efforts are divided into three parts. The “irst part is the determination of data format which concludes that shapefile is appropriate because of its simple and open structure. The format is also supported by most GIS software vendors. The second part of the research is the development of a GIS application based on Java language whose cross-platform properly is exploited to make the application run on any different machine at client-side and thus all geo-processing functions occur at client-side. The third part of the research is the development of CGI for attribute-based query. The research result clearly demonstrates the possibility and suitability of using the Internet to distribute geographic data. The cross-platform property of Java-based GIS application is tested and verified and the download speed of data and the application over many different networking scheme found to be acceptable for most use.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectอินเทอร์เน็ตen_US
dc.subjectเวิลด์ไวด์เว็บen_US
dc.subjectGeographic information systemsen_US
dc.subjectInterneten_US
dc.subjectWorld Wide Weben_US
dc.titleการศึกษาการเผยแพร่สารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านอินเตอร์เนตen_US
dc.title.alternativeA study of distributing geo-information via the Interneten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorItthi.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sanphet_ch_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ996.72 kBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1776.62 kBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.27 MBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.1 MBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_ch5_p.pdfบทที่ 52.5 MBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_ch6_p.pdfบทที่ 6984.36 kBAdobe PDFView/Open
Sanphet_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.