Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศรี จงรุ่งเรือง-
dc.contributor.authorสมเกียรติ สมชัยกุลทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-06T03:12:15Z-
dc.date.available2020-11-06T03:12:15Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743318119-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69156-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและออกแบบเครื่องเก็บอนุภาคชนิดเวนทูรี เพื่อลดปริมาณอนุภาคในแก๊สเสียที่เกิดจากการเผาไหม้มูลฝอยประเภทกระดาษ โดยทำการศึกษาผลของตัวแปรต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อค่าความดันลดของแก๊สที่ไหลผ่านคอคอดและประสิทธิภาพในการดักเก็บอนุภาคของระบบเครื่องเก็บอนุภาค เครื่องเก็บอนุภาคนี้ มีการติดตั้งหัวฉีดนี้าจำนวน 2 หัว ซึ่งออกแบบให้สามารถถอดเปลี่ยนได้ที่บริเวณ คอคอดของระบบหัวฉีดแต่ละหัวมีระยะห่างกัน 7 นิ้ว ตามความสูงของคอคอดที่มีพื้นที่หน้าตัด 4.5 x 10 ตาราง นิ้ว และความสูง 21 นิ้ว ในการออกแบบการทดลองนี้ ก็เพื่อที่จะศึกษาตัวแปรอิสระ ได้แก่ ความเข้มข้นของฝุ่นที่ไหลเข้าระบบ, อัตราส่วนของของเหลวต่อแก๊ส และหยดของเหลวที่สเปรย์ออกจากหัวฉีด ที่มีผลต่อความตันลดที่คอคอด และประสิทธิภาพรวมในการดักเก็บอนุภาค ผลการทดลองสามารถสรุปได้ ดังต่อไปนี้ : 1. ความดันลดของแก๊สที่คอคอดจะมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่ออัตราส่วนของของเหลวต่อแก๊สมีค่าเพิ่มขึ้น แต่จะไม่ขึ้นอยู่กับหยดของของเหลว 2. ประสิทธิภาพรวมในการดักเก็บอนุภาคจะมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่ออัตราส่วนของของเหลวต่อแก๊สมีค่าเพิ่ม ขึ้น และ/หรือ หยดน้ำมีขนาดเล็กลง 3 ผลการเปรียบเทียบระหว่างความดันลดของแก๊สที่คอคอดจากการทคลองและผลที่ได้จากสมการของ S.Calvert พบว่า มีค่าแตกต่างสูงสุดเท่ากับ 30.81 % 4. ผลการเปรียบเทียบระหว่างประสิทธิภาพรวมในการดักเก็บอนุภาคจากการทดลองและจากสมการที่ เสนอโดย H.F. Johnstone จะได้ค่าคงที่ของระบบ เมื่อใช้อัตราส่วนของของเหลวต่อแก๊สในช่วง 0.4-0.8 ลิตร. น้ำ/ลูกบาศก์เมตร.แก๊ส สำหรับหัวฉีดนี้ๆที่มี1ขนาดรูออริฟิซ 1.5 และ 1.6 มิลลิเมตร ค่าคงที่ของระบบอยู่ในช่วง 0.64-2.20 และ 0.21-0.79 (แกลลอน.น้ำ/1,000 ลูกบาศก์ฟุต.แก๊ส)-1 ตามลำดับ ค่าความแตกต่างสูงชุดของประ สิทธิภาพรวมในการดักเก็บอนุภาค มีค่าเท่ากับ 6.20 %-
dc.description.abstractalternativeThis research is to study and design of a venturi scrubber for particles reducing in the contaminated gas stream occuring from refuse-paper combustion. By studying the results of some variables influence to the throat gas pressure drop and the overall collection efficiency of the scrubber system. This scrubber is installed with two sprays nozzles designed for changing at the venturi throat of its system. The distance of each nozzle is 7 inches dong the throat height that has 4.5x10 square-inch, crossectional area and 21 inches height. In this experiment design is to study the independent variables that are the inlet dust concentration to system, liquid to gas ratio and atomized droplets from the spray nozzles affecting to its throat pressure drop and overall collection efficiency. The experiment results can be summarized as follows : 1. The throat gas pressure drop will increase when the liquid to gas ratio increase but not depending on the atomized droplets. 2 The overall collection efficiency will increase when the liquid to gas ratio increase and/or the atomized droplets are small-down. 3. The comparison between the throat gas pressure drop from the experiment and the result from the equation suggested by S. Calvert is 30.18% màximum difference. 4 The comparison between the overall collection efficiency from the experiment and the result: from the equation suggested by H.F. Johnstone will get the system’s constant, when use the liquid to gas ratio in the range of 0.4-0.8 L.H2O/m3 .gas for the orifice nozzles diameter are 1.5 and 1.6 mm, the system’s constant is in the range of 0.64-2.20 and 0.21-0.79 (gallon.water/1,000 ft3 .gas)-1 respectively. The maximum difference of this overall collection efficiency is 6.20 %.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครื่องเก็บอนุภาคชนิดเวนทูรีen_US
dc.subjectVenturi scrubberen_US
dc.titleการศึกษาและออกแบบเครื่องเก็บอนุภาคชนิดเวนทูรีen_US
dc.title.alternativeStudy and design of a venturi scrubberen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somkiat_so_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.46 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch1_p.pdfบทที่ 1718.88 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch2_p.pdfบทที่ 21.23 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch3_p.pdfบทที่ 31.19 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch4_p.pdfบทที่ 41.1 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch5_p.pdfบทที่ 52.69 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch6_p.pdfบทที่ 61.41 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch7_p.pdfบทที่ 74.48 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_ch8_p.pdfบทที่ 8702.93 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_so_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก6.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.