Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6941
Title: | การออกแบบส่วนทดสอบแบบสแกนสำหรับวงจรไปป์ไลน์รหัสรางคู่แบบอสมวาร |
Other Titles: | A design of scan testing for asynchronous dual-rail pipeline circuits |
Authors: | สมโชค เชวงชวลิต |
Advisors: | อาทิตย์ ทองทักษ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | arthit@cp.eng.chula.ac.th |
Subjects: | วงจรอะซิงโครนัส |
Issue Date: | 2548 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอวิธีการทดสอบแบบสแกนสำหรับวงจรอสมวารไปป์ไลน์รหัสรางคู่ ซึ่งใช้วิธีการออกแบบส่วนสแกนด้วยระดับสัญญาณมาประยุกต์ใช้ และได้ออกแบบวิธีการทดสอบแบบสแกนสำหรับวงจรคูณเลขอิงดรรชนีแบบอสมวารที่ใช้อัลกอริธึมการคูณแบบเชื่อมตรงขนาด 16 บิต ซึ่งมี 3 แบบ คือสายโซ่สแกนสายเดียว สายโซ่สแกนหลายสาย และสายโซ่สแกนหลายสายที่มีตัวตรวจจับข้อมูลที่ไม่ใช่รหัส สายโซ่สแกนสายเดียวจะต่อสายโซ่สแกนในแต่ละรีจิสเตอร์สแกนเข้าด้วยกันเป็นสายเดียว โดยมีความยาวของสายโซ่สแกนเป็น 535 บิต และเวลาที่ใช้ในการทดสอบเป็น 128.8 ไมโครวินาที ส่วนสายโซ่สแกนหลายสายและสายโซ่สแกนหลายสายที่มีตัวตรวจจับข้อมูลที่ไม่ใช่รหัส จะแบ่งสายโซ่สแกนออกเป็นหลายสาย ซึ่งตามโครงสร้างของวงจรทดสอบในวิทยานิพนธ์นี้จึงแบ่งสายโซ่สแกนออกเป็น 4 สาย โดยความยาวสูงสุดของสายโซ่สแกนคือ 179 บิต และการควบคุมการทำงานนั้นจะแยกตามสายโซ่สแกน โดยเวลาที่ใช้ในการทดสอบเป็น 43.4 ไมโครวินาที ผลการจำลองการทำงานแสดงให้เห็นว่าวงจรทดสอบที่มีสายโซ่สแกนแบบต่างๆ นั้นสามารถทำงานในโหมดปกติได้อย่างถูกต้อง และสามารถหาความผิดพร่องชนิดคงค่าระดับสัญญาณในจุดเดียวได้ สำหรับสายโซ่สแกนหลายสายที่มีตัวตรวจจับข้อมูลที่ไม่ใช่รหัส สามารถตรวจจับข้อมูลเอาต์พุตที่ไม่ใช่รหัสที่เกิดจากความผิดพร่องชนิดคงค่าระดับสัญญาณได้ โดยไม่ต้องนำข้อมูลออกจากสายโซ่สแกน |
Other Abstract: | A design of scan testing for asynchronous-dual-rail-pipeline circuits using level-sensitive scan design was proposed in this thesis. In additional, the example circuit, 16-bit asynchronous floating-point on-line multiplier circuit was tested by 3 methods which are full scan chain, multiple scan chain, and multiple scan chain with non-codeword detector. On one hand, the scan cells are serial by connected into a single of 535 bits chain. On the other hand, for multiple scan chain and multiple scan chain with non-codeword detector, the chain is divided by architecture of the test-circuit into 4 chains. Therefore, the longest chain is 179 bits and each chain is controlled independently in 43.4 microseconds. As the result, the example circuits can perform well in normal-operation mode and can determine the single-stuck-at fault in the faulty circuit as well. Without scan out operation, when the output is non-codeword, multiple scan with non-codeword detector can detect single stuck-at fault as well. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6941 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1316 |
ISBN: | 9741765991 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2005.1316 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
somchoke.pdf | 1.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.