Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69574
Title: | Effectiveness of mobile application (EASYDM) for diabetes control focusing on diabetes medication adherence among uncontrolled diabetes patients attending primary care units in Bangkok Thailand: a randomized controlled trial |
Other Titles: | ประสิทธิผลของแอปพลิเคชันโทรศัพท์เคลื่อนที่ (EASYDM) เพื่อควบคุมโรคเบาหวานโดยใช้ความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้และมารับการรักษาที่หน่วยบริการปฐมภูมิ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
Authors: | Nusaree Siripath |
Advisors: | Nutta Taneepanichskul |
Other author: | Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
Advisor's Email: | Nutta.T@chula.ac.th |
Subjects: | Diabetes -- Prevention and control Mobile apps เบาหวาน -- การป้องกันและควบคุม โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Introduction: Increasing uncontrolled diabetes mellitus requires ways to tackle it effectively. Primary Care Units (PCU) play an important role in diabetes care in Thailand. One option of diabetes management includes use of mobile applications that have proven effective. We investigated whether EASYDM mobile application is effective in diabetes control focusing on medication adherence among uncontrolled diabetes patients attending Primary Care Unit. Method: A two-arm randomized assessor blinded controlled trial was conducted in between August to December 2019 at Pattanavej primary care unit in Saimai, Bangkok, Thailand. The sample was 186 patients who fulfill eligibility criteria of age 45-65 years, , type 2 diabetes with HbA1c > 7% assessed within previous 3 months and who are taking oral diabetic medications were randomized and assigned to intervention and control group in 1:1 ratio. Questionnaires were used to collect required data. Intervention group (n=93) was provided EASYDM with mobile application with functions and information designed and validated by experts to control diabetes while control group (n=93) received Usual Care provided by primary health care team. Primary outcome were self-reported medication adherence scores by Thai version Morisky Medication Adherence Scales-8 (TMMAS-8) and pill count medication percentage of monthly for 3 months. Secondary outcome was HbA1c level assessed at 3rd month in standard laboratory under National Health Security Office. Analysis was done by using Chi-square test, paired t-test, independent t-test, repeated measures ANOVA test and mixed between-within ANOVA test as appropriate. The results: showed that self-reported Morisky Medication Adherence scores in EASYDM group increased across 3 time points measurement (1st month: 5.81±0.96 vs 5.40±1.12; p=0.008), (2nd month: 6.55±0.87 vs 5.39±1.08; p<0.001) and (3rd month: 7.47±0.76 vs 5.38±1.11; p<0.001) from (baseline: 4.61±0.57 vs 4.53±0.64; p=0.333) as compared to scores in Usual Care group. MMAS scores between EASYDM and Usual Care were significantly different [F (1,184) =147.502, p<0.001, ηp2 = 0.445]. Pill count medication adherence percentage was increased across 3 time points (1st month: 79.35±7.065 vs 72.98±5.560; p<0.001), (2nd month: 86.62±7.396 vs 72.96±6.243; p<0.001) and (3rd month: 96.37±5.938 vs 74.18±4.730; p<0.001) from (baseline: 72.72±7.420 vs 73.97±6.383; p=0221) as compared to scores in Usual care group. Pill count medication adherence percentage between EASYDM and Usual Care were significantly different [F (1,184) =296.334, p<0.001, ηp2 = 0.617]. HbA1c level at 3rd month was also reduced significantly in EASYDM group compared to level in Usual Care group (6.87±1.13 vs 9.55±1.69, p<0.001). In conclusion, EASYDM mobile application has impact on MMAS scores increase, improvement in pill count medication adherence percentage and reduced HbA1c level among uncontrolled diabetes patients in Thailand. Conclusion and recommendation: EASYDM application has impacted on increasing in MMAS-8 scores and reducing HbA1c level among uncontrolled diabetes patients at PCU in Bangkok. However, Long term follow-up evaluation of this application for sustainability and an upgrade in line with emerging mobile technology to maintain acceptability and functionality would be required. |
Other Abstract: | ที่มาและความสำคัญ: จากการที่จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ไม่สามารถควบคุมได้เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแสวงหาหนทางในการยับยั้งการเพิ่มขึ้นนี้อย่างมีประสิทธิภาพ ในประเทศไทยหน่วยบริการปฐมภูมิมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและการใช้แอพพลิเคชั่นโทรศัพท์มือถือกเป็นหนทางหนึ่งในการบริหารจัดการโรคเบาหวานซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของแอปพลิเคชันโทรศัพท์มือถือ EASYDM ว่ามีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเบาหวานโดยมุ่งเน้นที่การให้ความร่วมมือใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมได้หรือไม่ วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้ทำการศึกษาด้วยวิธีการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมชนิดสุ่มสองแขน ดำโดยทำการศึกษาระหว่างเดือนสิงหาคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2562 ในหน่วยบริการปฐมภูมิพัฒนเวชสหคลินิก เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิพัฒนเวชสหคลินิกจำนวน 186 คน อายุ 45-65 ปี, ได้รับการวินิจฉัยโรคเบาหวานประเภท 2 ที่มีระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) >7% ในระยะเวลา 3 เดือนก่อนเข้าร่วมการวิจัยและไม่ได้รับยาฉีดอินซูลิน โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการสุ่มด้วยคอมพิวเตอร์ในอัตราส่วน 1: 1 กลุ่มควบคุม(n=93)ได้รับการดูแลตามแผนการรักษาปกติเท่านั้น ในขณะที่กลุ่มทดลอง(n=93)ได้รับแอปพลิเคชันมือถือEASYDMซึ่งถูกออกแบบรูปแบบการใช้งานและเพิ่มข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้องโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อควบคุมโรคเบาหวานร่วมกับการดูแลตามแบบแผนการรักษาปกติ โดยผู้ซึ่งผู้เข้าร่วมการศึกษาในกลุ่มทดลอง ผลลัพท์ระดับปฐมภูมิในการศึกษาครั้งนี้คือคะแนนความร่วมมือในการใช้ยาซึ่งวัดโดยแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองฉบับภาษาไทย(MMAS-8) และเปอร์เซ็นความร่วมมือในการใช้ยาซึ่งวัดด้วยวิธีการนับเม็ดยาโดยการวัดความร่วมมือในการใช้ยาทั้ง 2 ชนิดนี้จะวัดเดือนละ 1 ครั้งติดต่อกันเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลลัพท์ระดับทุติยภูมิ ในการศึกษาครั้งนี้คือระดับน้ำตาลสะสมในเลือด HbA1C ซึ่งจะทำประเมินโดยห้องปฏิบัติการมาตรฐานสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติโดยทำการประเมินทั้งสิ้น 2 ครั้งที่จุดเริ่มต้นการศึกษาและที่จุดสิ้นสุดการศึกษา 3 เดือน การวิเคราะห์ดำเนินการโดยใช้การทดสอบไคสแควร์(Chi-square),ทดสอบสมมติฐานด้วย Paired t-test, การวิเคราะห์ความแตกต่างใช้การทดสอบ(independent t-test) การวัดการทดสอบ ANOVA ซ้ำ( repeated ANOVA) และผสมระหว่างการทดสอบ ANOVA ตามความเหมาะสมการทดสอบความแปรปรวนแบบผสม (Mixed-ANOVA) ผลการศึกษา: พบว่าคะแนนความร่วมมือในการรักษาด้วยยา (MMAS) ในกลุ่มทดลอง EASYDM เพิ่มขึ้นในการวัด 3 ครั้ง (เดือนที่ 1: 5.81 ± 0.96 เทียบกับ 5.40 ± 1.12; p = 0.008), (เดือนที่สอง: 6.55 ± 0.87 เทียบกับ 5.39 ± 1.08;อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p <0.001) และ (3 เดือน: 7.47 ± 0.76 เทียบกับ 5.38 ± 1.11; อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p <0.001) จาก (พื้นฐาน: 4.61 ± 0.57 เทียบกับ 4.53 ± 0.64; p = 0.333) เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนในกลุ่มการดูแลตามปกติ คะแนนความร่วมมือในการรักษาด้วยยา(MMAS) ระหว่าง EASYDM และการดูแลตามปกติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ [F (1,184) = 147.502, p <0.001, ηp2 = 0.445] เปอร์เซ็นต์การประเมินผลคะแนนความร่วมมือในการรักษาด้วยยา เพิ่มขึ้นใน 3 ช่วงเวลา (เดือนที่ 1: 79.35 ± 7.065 เทียบกับ 72.98 ± 5.560; p <0.001), (เดือนที่สอง: 86.62 ± 7.396 เทียบกับ 72.96 ± 6.243; p <0.001) และ (เดือนที่ 3: 96.37 ± 5.938 เทียบกับ 74.18 ± 4.730; p <0.001) จาก (พื้นฐาน: 72.72 ± 7.420 เทียบกับ 73.97 ± 6.383; p = 0221) เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนในกลุ่มการดูแลตามปกติ เปอร์เซ็นต์การประเมินผลคะแนนความร่วมมือในการรักษาด้วยยา ระหว่าง EASYDM และการดูแลตามปกติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ [F (1,184) = 296.334, p <0.001, ηp2 = 0.617] ระดับน้ำตาลสะสม(HbA1c)ในเดือนที่ 3 ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่ม EASYDM เมื่อเทียบกับระดับในกลุ่มการดูแลตามปกติ (6.87 ± 1.13 เทียบกับ 9.55 ± 1.69, p <0.001) สรุปได้ว่าแอปพลิเคชั่นมือถือ EASYDM ส่งผลกต่อการเพิ่มขึ้นในการความร่วมมือในการรับประทานยา และเปอร์เซ็นต์การวัดความร่วมมือในการใช้ยาโดยวิธีนับเม็ดยา เพื่อลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด( HbA1c )ในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมได้ในประเทศไทย สรุปและข้อเสนอแนะ: แอพพลิเคชั่น EASYDM มีประสิทธิภาพในการเพิ่มความร่วมมือในการใช้ยาเมื่อพิจารณาจากการเพิ่มขึ้นของคะแนนความร่วมมือในการใช้ยาทั้งการวัดด้วย TMMAS-8 และการวัดเปอร์เซ็นความร่วมมือในการใช้ยาซึ่งวัดด้วยวิธีการนับเม็ดยาและลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1c) ในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม ควรมีการประเมินผลติดตามระยะยาวของการใช้แอปพลิเคชั่นนี้ควบคู่กับการรักษา เพื่อความยั่งยืนและการพัฒนาฟังก์ชั่นตามเทคโนโลยีของโทรศัพท์มือถือ เพื่อให้เกิดการยอมรับและตอบสนองใช้งานผู้รับป่วยเบาหวาน |
Description: | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2019 |
Degree Name: | Doctor of Philosophy |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Public Health |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69574 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.463 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2019.463 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pub Health - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6079164053.pdf | 5.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.