Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา สรายุทธพิทักษ์-
dc.contributor.authorพงษ์เพชร คำแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-11T13:35:12Z-
dc.date.available2020-11-11T13:35:12Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70044-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายจำนวน 40 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารโดยประยุกต์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติร่วมกับการประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครองจำนวน 20 คน และกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมใด ๆ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารโดยประยุกต์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติร่วมกับการประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครองประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ 1. ประเมินตนเอง 2. ช่วยเหลือเกื้อกูล 3. ใส่ใจส่งเสริม 4. อ่านเองทำเอง 5. ร่วมมือร่วมใจ และแบบวัดพฤติกรรมสุขภาพด้านการปฏิบัติ แบบวัดทักษะการสื่อสารด้านการอ่านและด้านการเขียน ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างด้วยค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  -
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study to compare mean scores of health behavior and communication skills before and after implementation of the experimental group and the control group, and to compare mean scores of health behavior and communication skills after implementation between the experimental group and the control group. The subjects consisted of 40 elementary students, divided into 2 groups with 20 students in the experiemental group received the health behavior promotion program and communication skill of elementary school students by using active learning and parent’s coordinate, and 20 students in the control group not received the health behavior promotion program and communication skills. The research instruments were compost of the health behavior promotion program and communication skill of elementary school students by using active learning and parent’s coordinate consists of 5 activities: 1. Self-assessment 2. Helpful and supportive 3. Paying attention 4. Make yourself read more 5. Collaboration for 6 weeks, 4 days a week, 1 hour a day, and tests of health behavior and communication skills in reading and writing. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test. The research findings were as follows: 1) The mean scores of health behavior and communication skill of the experimental group students after experiment were significantly higher than before at .05 levels. 2)The mean scores of health behavior and communication skill of the experimental group students after experiment were significantly higher than the control group at .05 level.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1429-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationHealth Professions-
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและทักษะการสื่อสารของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโดยประยุกต์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติร่วมกับการประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง-
dc.title.alternativeEffects of health behavior promotion program and communication skill of upper elementary school students using active learning and parenting coordination-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordพฤติกรรมสุขภาพ-
dc.subject.keywordทักษะการสื่อสาร-
dc.subject.keywordการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ-
dc.subject.keywordการประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.1429-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6183855727.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.