Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา ธาดานิติ-
dc.contributor.authorณัฐพล พูลนาผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-11T13:41:26Z-
dc.date.available2020-11-11T13:41:26Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70087-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความความรู้ความเข้าใจในประโยชน์สวนสาธารณะผ่านการเล่นเกมกระดาน 2) เพื่อออกแบบเกมกระดานให้คนรุ่นใหม่ตระหนักรู้ประโยชน์ของสวนสาธารณะ โดยเริ่มต้นจากการศึกษาประโยชน์ของสวนสาธารณะในประเทศไทยโดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สวนลุมพินี ซึ่งมีการไปสังเกตพฤติกรรมในการใช้ประโยชน์ของสวนลุมพินีของคนในช่วงวัยต่างๆ จากนั้นจะเป็นการสอบถามและพูดคุยเกี่ยวกับความรู้และความเข้าใจถึงประโยชน์ของพื้นที่สวนสาธารณะ จากการลงพื้นที่พูดคุยกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ทั้งกลุ่มคนวัยรุ่นและวัยทำงานพบว่า ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆนั้นต้องได้รับความสนุกสนานควบคู่ไปกับความรู้ ทางผู้วิจัยจึงเห็นว่าควรนำเกมกระดานมาใช้เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความรู้และความเข้าในในประโยชน์ของพื้นที่สวนสาธารณะ             เกมกระดานที่จะใช้นำมาใช้เป็นเครื่องมือในงานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการออกแบบเป็นเกมที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประโยชน์ของสวนสาธารณะซึ่งหลังจากนำเกมไปให้กลุ่มคนที่เข้ามาใช้พื้นที่สวนลุมพินีได้ลองเล่น และเก็บข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ในกลุ่มคนรุ่นใหม่มีความเข้าใจในการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สวนลุมพินีเพิ่มขึ้น ทั้งในด้านการใช้พื้นที่สำหรับการออกกำลังกาย การพักผ่อน รวมถึงการใช้สวนสาธารณะทำกิจกรรมนันทนาการต่างๆ ผลจากการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะเรื่องการนำเกมกระดานไปสร้างความตระหนักรู้ประโยชน์ของสวนสาธารณะและนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการวัดความต้องการในการใช้ประโยชน์ของสวนสาธารณะในกลุ่มคนต่างๆในชุมชนจนนำไปสู่การออกแบบสวนสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของคนในสังคม-
dc.description.abstractalternativeThere are 2 objectives of this research: 1) to study and understand the benefits of the public park via playing board game. 2) to designs board game for young people’s awareness of the public park usefulness. The research begins from studying and observing the benefits of the parks in Thailand and Lumpini Park was selected to be the study area. The researcher went to the park and observed the characteristics of the park users in different ages and tried to find out about the activities that they did. After that, the researcher collected further information by discussing with the selected participants of each group about their understanding of the benefits of using the park areas. The study shows that people in the new generation, including both in working and studying age, prefer and are willing to learn about the park usefulness. It ever it should be done in a relaxing and enjoying way. The researcher then came up with the idea to use board games to give them the awareness of the park value.             A Board Game is designed as the research tool, equipped with the contents related to the benefits of the public parks. After the selected participants at Lumpini Park played the board game, the information shows that the participants from the new generation group tend to have move awareness of the usefulness of the parks. Their knowledge and understanding on park using are both on physical exercises, relaxing, and doing many activities for recreation. There are recommendation from the study that a board game should be used to raise awareness of public parks. It can be also a tool to measure the requirement of park facilities and the expectation of the park usefulness of the people. This therefore will lead to the park design and management that fulfill the needs of people in the community.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1033-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการออกแบบเกมกระดานเพื่อให้คนรุ่นใหม่ตระหนักรู้ประโยชน์ของสวนสาธารณะ : กรณีศึกษาสวนลุมพินีกรุงเทพมหานคร-
dc.title.alternativeDesign of board games for young people’s awareness of the public park usefulness : a case study of Lumpini Park, Bangkok-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพัฒนามนุษย์และสังคม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.1033-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5987279420.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.