Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70358
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ ชุติมา-
dc.contributor.authorนภนิกันติ์ วงศ์ทรัพย์สกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-11T13:55:01Z-
dc.date.available2020-11-11T13:55:01Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70358-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการผสมซึ่งจะสื่อออกมาในรูปของคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ของบริษัทกรณีศึกษาและปรับปรุงกระบวนการผสม EPDM ที่ไม่ใช่น้ำมัน โดยใช้แนวคิด ซิกซ์ ซิกมา ซึ่งประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอนหลักที่สำคัญที่เรียกว่า DMAIC ได้แก่ ขั้นตอนกำหนดปัญหา (Define phase) , ขั้นตอนการวัดเพื่อใช้หาสาเหตุของปัญหา (Measure phase) , ขั้นตอนการวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหา (Analyze phase) ,ขั้นตอนการปรับปรุงกระบวนการ (Improve phase) และสุดท้ายคือขั้นตอนการควบคุมกระบวนการ (Control phase)  หลังจากใช้ขั้นตอน DMAIC ของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการจะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ โดยค่าความหนืดมูนนี่เฉลี่ยที่ได้จากกระบวนการหลังปรับปรุง มีค่าเข้าใกล้ค่าที่คาดหวังหรือค่าเป้าหมายมากขึ้นและได้สะท้อนไปยังดัชนีความสามารถในกระบวนการที่เพิ่มขึ้น (Cpk) จาก -1.25 ถึง 3.92 นอกจากนี้ผลลัพธ์ของวิธี Response Surface Design เผยให้เห็นถึงการตั้งค่าสภาวะกระบวนการผสมยาง EPDM non-oil มาสเตอร์แบทที่เหมาะสมดังนี้: เวลาผสม ~ 14 (นาที), ระยะห่างระหว่างลูกกลิ้ง (nip gap)  ~ 1.10 (มิลลิเมตร) และจำนวนรอบของการรีดผ่าน nip gap ~ 9 (รอบ) ผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ลดลงจาก 0.45 เป็น 0.30-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the factors affecting the mixing efficiency of the case study company and to improve the non-oil EPDM mixing process by applying the Six Sigma concept. Five systematic steps are conducted to apply the Six Sigma approach, i.e., define, measure, analyze, improve and control. After applying the DMAIC steps, wastes occurred in the process are substantially reduced by shifting the Mooney viscosity mean to be near or on the target value as reflected from increased process capability index (Cpk) from -1.25 to 3.92. In addition, the result of the response surface method reveals the appropriate process parameter setting as follows: mixing time ~ 14 (min.), Nip gap ~ 1.10 (mm.) and Number of passes ~ 9 (pass.). The result also shows that the standard deviation is decreased from 0.45 to 0.30.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1317-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectSix sigma (Quality control standard)-
dc.subjectQuality control-
dc.subjectซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)-
dc.subjectการควบคุมคุณภาพ-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการผสมยางมาสเตอร์แบท EPDM ไม่มีน้ำมัน โดยใช้หลักการซิกซ์ ซิกมา-
dc.title.alternativeImprovement of non-oil EPDM mixing process by six sigma concept-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorParames.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.1317-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6170935021.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.