Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พิสุทธิ์ บุษบารัตน์-
dc.contributor.authorปภาพรรณ หารบุรุษ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-11T14:06:13Z-
dc.date.available2020-11-11T14:06:13Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70442-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษานโยบายต่างประเทศของจีนที่มีต่ออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง โดยเฉพาะภายใต้การดำเนินงานของกรอบความร่วมมือล้านช้าง - แม่โขง (Lancang - Mekong Cooperation: LMC) ระหว่างปี ค.ศ. 2016 ถึง 2020 เพื่อวิเคราะห์แรงจูงใจที่ทำให้จีนต้องการจัดตั้งกรอบความร่วมมือดังกล่าว โดยผู้วิจัยใช้กรอบแนวคิดการเปลี่ยนผ่านของอำนาจ (Power transition theory) ของ A.F.K. Organski และ Jacek Kugler เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ การศึกษาครั้งนี้พบว่า แรงจูงใจสำคัญที่ทำให้จีนจัดตั้งกรอบความร่วมมือล้านช้าง – แม่โขง มี 3 ประการ ได้แก่ (1) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงได้อย่างเต็มที่ (2) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการช่วงชิงบทบาทนำในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงจากมหาอำนาจนอกภูมิภาค และ (3) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมอำนาจทางเศรษฐกิจของตนให้แข็งแกร่งขึ้น โดยในท้ายที่สุด กรอบความร่วมมือนี้จะช่วยสนับสนุนให้จีนสามารถก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจ (Dominant power) ที่ได้รับการยอมรับจากประชาคมโลกได้อย่างเต็มภาคภูมิ   -
dc.description.abstractalternativeThis Independent Study examines China's foreign policy towards the Mekong subregion under the Lancang-Mekong Cooperation (LMC) between 2016 and 2020. It analyzes the dominant factors that drive China to establish the LMC framework. To understand China's incentives, this study adopts the concept of Power transition theory (PPT) proposed by A.F.K. Organski and Jacek Kugler as a framework of analysis. The study suggests that China has established the LMC framework because of three main incentives. First, China utilizes the LMC framework as an important tool to advance China’s economic interests in the Mekong subregion. Second, China can use LMC framework as a tool to contest against other external dominant powers in this subregion and (iii) China can use the LMC framework as a tool to promote and strengthen its economic power that will eventually support China to rise as the world's dominant power.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.209-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectนโยบายเศรษฐกิจ -- จีน-
dc.subjectจีน -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-
dc.subjectEconomic policy -- China-
dc.subjectChina -- International economic relations -- Southeast Asia-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleการขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ผ่านกรอบความร่วมมือล้านช้าง - แม่โขง (LMC)-
dc.title.alternativeThe expansion of China's economic influence in the Mekong Subregion : a study of the Lancang-Mekong cooperation (LMC)-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2019.209-
Appears in Collections:Pol - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6180963224.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.