Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70799
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Suthiluk Patumraj | - |
dc.contributor.advisor | Juraiporn Somboonwong | - |
dc.contributor.author | Sarunya Thanamittramanee | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-17T05:57:05Z | - |
dc.date.available | 2020-11-17T05:57:05Z | - |
dc.date.issued | 1997 | - |
dc.identifier.isbn | 9746391496 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70799 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University,1997 | en_US |
dc.description.abstract | ว่านหางจระเข้ได้รู้จักกันอย่างแพร่หลายสำหรับใช้เป็นยารักษามาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะคุณสมบัติของว่านต่อการต้านการอักเสบและการสมานแผล จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของว่านหางจระเข้ต่อการสมานแผลและการตอบสนองของหลอดเลือดในหนู หลังจากการเป็นแผลไหม้ที่ 7 และ 14 วัน การทดลองใช้เทคนิค Dorsal skinfold chamber ร่วมกับกล้องจุลทรรศน์ฟลูออเรสเซนต์ ผลการทดลองหนูที่เป็นแผลไหม้ที่ 7 วัน จะมีค่าเปอร์เซ็นต์การสมานแผล, การเปลี่ยนแปลงเส้นผ่าศูนย์กลางของหลอคเลือดแดงรองลำดับ ที่ 2 และ 3 และความซึมซ่านผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอย ซึ่งค่าเหล่านี้แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) กลุ่มควบคุม เท่ากับ 100 ตารางมิลลิเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดแดงรองลำดับที่2และ3 เท่ากับ 77.40±2.82, 66.47±2.18 ไมครอน, ความซึมซ่านผ่านไข้ของ หลอดเลือดดำฝอย เท่ากับ 0, กลุ่มแผลไหม้เปอร์เซ็นต์การสมานแผลเท่ากับ 20.49±2.53 ตารางมิลลิเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดแดงรองลำดับ ที่2และ3 เท่ากับ 129.35±15.62 และ 105.47±4.2 ไมครอนและความซึมซ่านผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอยเท่ากับ 1.06) ส่วนในกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับสารละลายน้ำเกลือพบว่าเปอร์เซ็นต์การสมานแผลไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มแผลไหม้ เส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดแดงรองลำดับ 2 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มควบคุม การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดแดงรองลำดับ 3 แตกต่างจากกลุ่มควบคุมและกลุ่มแผลไหม้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ความซึมชาบผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอยแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) (กลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับสารละลายน้ำเกลือมีเปอร์เซ็นต์การสมานแผลเท่ากับ 26.15±2.94 ตารางมิลลิเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดแดงรองลำดับที่2 และ3 เท่ากับ 90.84±4.84 และ 85.80±3.19, ไมครอน ความซึมซ่านผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอยเท่ากับ 0.52) หนูกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับว่านหางจระเข้ พบว่าเปอร์เซ็นต์การสมานแผลแตกต่างจากกลุ่มควบคุม กลุ่มแผลไหม้และกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับสารละลายน้ำเกลืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดแดงรองลำดับ 2 และ 3 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มควบคุมแต่จะแตกต่างจากกลุ่มแผลไหม้และกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับสารละลายน้ำเกลืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ความซึมซ่านผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอยแตกต่างจากกลุ่มควบคุม แตกต่างกับกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับสารละลายน้ำเกลือและกลุ่มแผลไหม้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) (กลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับว่านหางจระเข้มีเปอร์เซ็นต์การสมานแผล!ท่ากับ 53.45±3.24 ตารางมิลลิเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดแดงรองลำดับที่2และ3 เท่ากับ 68.78±3.28 และ 56.58±2.79 ไมครอน และความซึมซ่านผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอย เท่ากับ 0.24) หนูกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับว่านหางจระเข้มาแล้ว 14 วัน หนูกลุ่มแผลไหม้ที่ได้รับว่านหางจระเข้เท่านั้นพบว่าเปอร์เซ็นต์การสมานแผล การเปลี่ยนแปลงเส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดแดงรองลำดับ 2 และ 3 และความซึมซาบผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอยไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มควบคุม ผลการทดลองยังพบว่า การเกาะติดของเม็ดเลือดขาวบนเอ็นโดธีเลียมของหลอดเลือดฝอยในวันที่ 7 หลังเกิดแผลไฟไหม้พบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างหนูกลุ่มที่มีแผลไหม้ หนูกลุ่มที่มีแผลไหม้แล้วได้รับสารละลายน้ำเกลือ และหนูกลุ่มที่มีแผลไหม้แล้วได้รับว่านหางจระเข้ แต่ทั้ง 3 กลุ่ม มีความแตกต่างจากหนูกลุ่มควบคุม ในหนูกลุ่มที่มีแผลไหม้ที่ได้รับว่านหางจระเข้ในวันที่ 14 เท่านั้น มีการลดลงของการเกาะติดของเม็ดเลือดขาวบนเอ็นโดธีเลียมของหลอดเลือดดำฝอย การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการให้ว่านหางจระเข้สามารถยับยั้งขบวนการการอักเสบซึ่งรวมไปถึงสามารถลดการเปลี่ยนแปลงขนาดของ หลอดเลือด ลดการเพิ่มขึ้นของความซึมซ่านผ่านได้ของหลอดเลือดดำฝอย และลดการเกาะติดของเม็ดเลือดขาวบนเอ็นโดธีเลียม ยิ่งไปกว่านั้นว่านหาง จระเข้สามารถเร่งการสมานแผลได้ | - |
dc.description.abstractalternative | Aloe vera is widely known for its uses ๒ folk medicine, particularly for its properties of antiinflammation and wound healing. The purpose of this study was to examine the effects of aloe vera on vascular changes and wound healing in rats at 7 and 14 days after induced bum. The experiments were performed using dorsal skinfold chamber model for intravital fluorescence microscopy. The results demonstrated that on day 7 after burning, percent of healing area (% h), changes of the second and third-order arteriolar diameters (d A2, d A3) and postcapillary venular permeability (I-ratio) assessed for bum wound-rats were significantly different from controls (p<0.05) (control: %h =100 mm2, d A2 = 77.40±2.82 um, dA3 = 66.47±2.18 um, I=0, bum wound-rats : %h = 20.49±2.53 mm2, d A2 = 129.35±15.62 um, d A3 = 105.47±4.2 um, I =1.06). In NSS-treated bum wound rats, percent of healing area was not significantly different from that of bum wound-rats, change of second-order arteriolar diameter was not significantly different from that of control, change of third-order arteriolar diameter was significantly those of control and bum wound-rats (p<0.05), and postcapillary venular permeability was significantly different from that of control (p<0.05) (NSS-treated bum wound-rats: % h = 26.15±2.94mm2, d A2 = 90.84±4.84 um, d A3 = 85.80±3.19 um, I = 0.52). In aloe-treated bum wound-rats, percent of healing area was significantly different from those of bum wound-rats and NSS-treated bum wound-rats (p<0.05), changes of second-and third-order arteriolar diameters were not significantly different from control but were significantly different from those of bum wound-rats and NSS-treated bum wound-rats (p<0.05), postcapillary venular permeability was significantly different from those of control, bum wound- rats and NSS-treated bum wound-rats(p<0.05) (aloe-treated bum wound-rats: % h = 53.45±3.24 mm2, d A2 = 68.78±3.28 um, d A3 = 56.58±2.79 um, I = 0.24). On day 14, It was shown that percentage of healing area, changes of second and third-order arteriolar diameters and postcapillary venular permeability of aloe-treated bum wound-rats were not significantly different as compared to those of controls. The results also showed that leukocyte adhesion at postcapillary venules was not different among bum wound-rats, NSS-treated bum wound-rats, and doe-treated bum wound-rats. However, there was a significant decrease of leukocyte adhesion to endothelium at postcapillary venules in aloe-treated bum wound-rats at the fourteenth day after burning. The results of this study could be concluded that the inflammatory process including vascular diameter changes, increase of vascular permeability and leukocyte adhesion could be inhibited by aloe vera on wound healing acceleration was also observed in our study. | - |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Aloe barbadensis | en_US |
dc.subject | Burns and scalds | en_US |
dc.subject | Blood-vessels | en_US |
dc.subject | ว่านหางจระเข้ | en_US |
dc.subject | แผลไหม้ | en_US |
dc.subject | หลอดเลือด | en_US |
dc.title | Effects of aloe vera (Linn.) on vascular changes in burn model in rats | en_US |
dc.title.alternative | ผลของว่านหางจระเข้ต่อการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด ในแบบจำลองแผลไหม้ในหนูแรท | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Physiology | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Suthiluk.P@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Juraiporn.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sarunya_th_front_p.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_ch1_p.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_ch2_p.pdf | 622.52 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_ch3_p.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_ch4_p.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_ch5_p.pdf | 920.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_ch6_p.pdf | 599.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sarunya_th_back_p.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.