Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70800
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลพร บัณฑิตยานนท์-
dc.contributor.authorสถาพร พลเยี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-17T06:32:53Z-
dc.date.available2020-11-17T06:32:53Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383973-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70800-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการอ่านและเขียนข้อความภาษาไทย ที่มีรูปแบบการเขียนแบบบรรยาย แบบเชิญชวน และแบบแสดงความคิดเห็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2539 จำนวน 640 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ซี่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้แก่ แบบสอบวัด ความสามารถในการอ่านและการเขียนข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบบรรยาย แบบสอบวัดความสามารถในการอ่านและการเขียนข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบเชิญชวน และแบบสอบวัดความสามารถในการอ่านและการเขียนข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบแสดง ความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. ความสามารถในการอ่านข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบบรรยาย และการเขียนข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบบรรยาย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ความสามารถในการอ่านข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบเชิญชวน และการเขียนข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบเชิญชวน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ความสามารถในการอ่านข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบแสดงความคิดเห็น และการเขียนข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบแสดงความคิดเห็น ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. ความสามารถในการอ่านข้อความภาษาไทยที่มีรูปแบบการเขียนแบบบรรยาย แบบเชิญชวน และแบบแสดงความคิดเห็น และการเขียนข้อความภาษาไทยทั้ง 3 แบบของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to find the relationships between reading and writing abilities in descriptive, persuasive and expressive of Thai language text structure of mathayom suksa three students, Bangkok Metropolis. The sample of this study were 640 mathayom suksa three students in the 1996 academic year, Bangkok Metropolis. The research instruments, constructed by the researcher, were reading and writing abilities in descriptive of Thai language text structure test, reading and writing abilities in persuasive of Thai language text structure test and reading and writing abilities in expressive of Thai language text structure test. The data were analyzed by means of Pearson product moment correlation coefficient. The results of this research were as follows : 1. There was positive correlation between reading and writing abilities in descriptive of Thai language text structure of mathayom suksa three students at the 0.05 level of significance. 2. There was positive correlation between reading and writing abilities in persuasive of Thai language text structure of mathayom suksa three students at the 0.05 level of significance. 3. There was positive correlation between reading and writing abilities in expressive of Thai language text structure of mathayom suksa three students at the 0.05 level of significance. 4. There was positive correlation between reading and writing abilites in descriptive, persuasive and expressive of Thai language text structure of mathayom suksa three students at the 0.05 level of significance.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการอ่านen_US
dc.subjectการเขียนen_US
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่านen_US
dc.subjectภาษาไทย -- การเขียนen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการอ่านและการเขียนข้อความภาษาไทย ที่มีรูปแบบการเขียน แบบบรรยาย แบบเชิญชวน และแบบแสดงความคิดเห็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeRelationships between reading and writing abilities in descriptive, persuasive and expressive of Thai language text structure of mathayom suksa three students, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKamonporn.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sathaporn_po_front_p.pdf937.99 kBAdobe PDFView/Open
Sathaporn_po_ch1_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Sathaporn_po_ch2_p.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open
Sathaporn_po_ch3_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Sathaporn_po_ch4_p.pdf695.81 kBAdobe PDFView/Open
Sathaporn_po_ch5_p.pdf810.51 kBAdobe PDFView/Open
Sathaporn_po_back_p.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.