Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70801
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชัยศักดิ์ หรยางกูร-
dc.contributor.authorสมบัติ พฤฒิพงศภัค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-17T06:46:50Z-
dc.date.available2020-11-17T06:46:50Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746372319-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70801-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการให้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมของประเทศไทยใช้ระบบสัมปทาน (Concession) ตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 แม้จะมีการแก้ไขกฎหมายหลายครั้งแต่ยังกงอยู่ในหลักการของการให้สิทธิในระบบสัมปทานอยู่เช่นเดิม โดยมิได้ศึกษาค้นคว้าถึงความเป็นไปได้ในการให้สิทธิสำรวจ และผลิตปิโตรเลียมในระบบอื่น เช่น ระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing) อันเป็นระบบการให้สิทธิที่ประเทศส่วนใหญ่ในโลกใช้อยู่ โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศ อินโดนีเซีย และประเทศมาเลเซีย และประเทศฟิลิปปินส์ เป็นต้น. ระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing) เป็นระบบการให้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียม ที่มีข้อได้เปรียบระบบสัมปทาน (Concession) หลายประการ ในการศึกษาเปรียบเทียบระบบสัมปทานของไทยกับระบบแบ่งปันผลผลิตแบบของมาเลเซียพบว่า ข้อให้เปรียบประการสำคัญที่ระบบแบ่งปันผลผลิตแบบของมาเลเซียมีอยู่เหนือระบบสัมปทานของไทย คือ ความยึดหยุ่น (flexibility) ของระบบแบ่งปันผลผลิตแบบของมาเลเซียที่มีมากกว่า เช่น วิธีการการแห้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในสัญญาที่มีความสะดวกรวดเร็วกว่า ซึ่งเหมาะสมกับสภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของการสำรวจและผลิตปิโตรเลียม อันเป็นการรักษาผลประโยชน์ทั้งของรัฐและเอกชนคู่สัญญาให้เป็นอย่างดี จึงสมควรที่จะนำระบบแบ่งปันผลผลิตมาใช้ในการให้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทยและความเหมาะสมของลักษณะการนำระบบแบ่งปันผลผลิตมาใช้ในการให้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทยคือ การเปลี่ยนแปลงจากระบบสัมปทานไปใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต-
dc.description.abstractalternativeIn granting tile right to explore and to exploit petroleum resources, Thailand applies the concession system under the Petroleum Act, 1971. Eventhough the Petroleum Act, 1971 has been revised several times, the concession stays as the principle in granting these right without a serious study to look for die possibility of introducing other licensing systems such as die Prodution Sharing. The Production Sharing is the licensing system which has been adopted in most countries around die world, especially diose in South - east Asia such as Indonesia , Malaysia and Philippines. The Production Sharing , in comparison to die concession , is more advantageous. In die comparative study of die Thai concession and the Model Contract (Malaysia’s Production Sharing Contract), we have found that die major advantage of die model contract is die greater flexibility (especially when it is compared to die Thail concession) for examples , die change of terms of die contract is more convenient and speedy. These are suitable for the exploration and exploitation petroleum resources which is by itself whimsical and this would take care of die terms of both state and die contractor. Therefore Thailand should introduce the Production Sharing system in granting die right to explore and to exploit petroleum resources and to replace die concession with die Production Sharing system.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมปิโตรเลียม -- ไทยen_US
dc.subjectปิโตรเลียม -- ไทยen_US
dc.subjectสัมปทานปิโตรเลียม -- ไทยen_US
dc.titleการนำระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing) มาใช้ในการให้สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeIntroduction of the production sharing in granting the right of exploration and exploitation petroleum resources in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhijaisakdi.H@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sombat_pe_front_p.pdf953.67 kBAdobe PDFView/Open
Sombat_pe_ch1_p.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_pe_ch2_p.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_pe_ch3_p.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_pe_ch4_p.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_pe_ch5_p.pdf945.31 kBAdobe PDFView/Open
Sombat_pe_back_p.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.