Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์-
dc.contributor.authorสุรีรัตน์ เหลืองผกาแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-18T07:30:45Z-
dc.date.available2020-11-18T07:30:45Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746319515-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70842-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้สิ่งพิมพ์ในการเรียนการสอนพลศึกษา ของอาจารย์พลศึกษา และนิสิตนักศึกษา วิชาเอกพลศึกษา ในระดับอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย โดยส่งแบบสอบถามไปยังอาจารย์พลศึกษา 84 คน และนิสิตนักศึกษา จำนวน 268 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืน 312 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 88.63 นำข้อมูลที่เก็บได้มาวิเคราะห์ ด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบด้วยค่า “ที” (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. อาจารย์พลศึกษา และนิสิตนักศึกษา มีการใช้สิ่งพิมพ์ในการเรียนการสอนพลศึกษาโดยนำมาใช้ในระดับมากทั้ง 4 ด้านได้แก่ การนำมาใช้ด้านความรู้ ทักษะและเทคนิคทางการกีฬาด้านคุณธรรมและความประพฤติ ด้านนันทนาการ และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการศึกษา 2. เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการใช้สิ่งพิมพ์ของอาจารย์พลศึกษากับนิสิตนักศึกษาพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เกือบทุกด้าน ยกเว้น ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการกีฬา สำหรับนิสิตนักศึกษาชายกับนิสิตนักศึกษาหญิง มีค่าเฉลี่ยการใช้สิงพิมพ์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญมีระดับ .05 ทุกด้าน-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and compare the printed matters utiIization of physical education instructors and students majoring in physical education in undergraduate level under the jurisdiction of the Ministry of University Affairs. The questionnaires were sent to 84 instructors and 268 students in which 312 questionnaires were returned. The obtianed data were analyzed in terms of percentage, mean, standard deviation and t-test. The major results were as follows : 1. The printed matters utilization in physical education instruction of the physical education instructors and students were at the high level in four areas included: knowledge, skills and techniques; morality and students behavior, recreation, and sport science and technology. 2. There were significant differences between printed matters utilization of instructors and students in all areas at the .05 level except in the sport science and technology but there were no significant differences at the .05 level between ma re and female students in printed matters utilization.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectพลศึกษา -- การศึกษาและการสอน-
dc.subjectสื่อมวลชนกับพลศึกษา -- ไทย-
dc.subjectการสอน -- อุปกรณ์-
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา-
dc.titleการศึกษาการใช้สิ่งพิมพ์ในการเรียนการสอนพลศึกษาในระดับอุดมศึกษา-
dc.title.alternativeA study of printed matters utilization in physical education instruction in higher education level-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sureerush_la_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ986.66 kBAdobe PDFView/Open
Sureerush_la_ch1_p.pdfบทที่ 1969.11 kBAdobe PDFView/Open
Sureerush_la_ch2_p.pdfบทที่ 21.63 MBAdobe PDFView/Open
Sureerush_la_ch3_p.pdfบทที่ 3712.75 kBAdobe PDFView/Open
Sureerush_la_ch4_p.pdfบทที่ 41.78 MBAdobe PDFView/Open
Sureerush_la_ch5_p.pdfบทที่ 51.15 MBAdobe PDFView/Open
Sureerush_la_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.