Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉันทนา หวันแก้ว-
dc.contributor.advisorจรัส สุวรรณมาลา-
dc.contributor.authorอัครพันธุ์ พูลศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-23T09:21:34Z-
dc.date.available2020-11-23T09:21:34Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743316035-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70919-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้ ต้องการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลว่า องค์การบริหารส่วนตำบลที่ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการมีส่วนร่วมในการบริหารแผนงานของ อบต.มาก จะทำให้การให้บริการของ อบต. มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย โดยทำการศึกษาเปรียบเทียนการมีส่วนร่วมทางการเมือง ระหว่างบระชาชนตำบลบ้านมะเกลือ อ.เมือง และตำบลหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ กับประสิทธิภาพในการให้บริการสาธารณะขององค์ การบริหารส่วนตำบลทั้งสองแห่งโดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสังเกตุการณ์ ในการเก็บรวบ รวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านมะเกลือ มีประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองทั้ง 3 ด้านมากกว่าองค์การบริหารส่วนตำบลหนองโพ และด้านการให้บริการสาธารณะขององค์ การบริการส่วนตำบลบ้านมะเกลือจะมีประสิทธิภาพมากกว่าองค์การบริหารส่วนตำบลหนองโพ เนื่องจาก การเข้าใปมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านมะเกลือจะส่งผลให้เกิดการตรวจสอบและลดการผูกขาดอำนาจในการบริหารงานของผู้นำชุมชน รวมทั้งการกำหนดปัญหาเพื่อการ วางแผนพัฒนาตำบลจากฺประชาชนจะทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ในขณะที่การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองโพมีอยู่น้อย เนื่องจากสภาพพื้นที่ของตำบลหนองโพมีลักษณะกระจายตัว ทำให้การติดต่อสื่อสารและการสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างหมู่บ้าน และ อบต. เป็นไปได้ยากจึงทำให้การเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นไปได้ยากด้วย ส่งผลให้ขาดการควบคุมและตรวจสอบการดำเนินงานของ อบต.ทำให้การบริหารงาน และประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะมีน้อยลงตามไปด้วย-
dc.description.abstractalternativeThis research aims at studying as well as analyzing the relationships between people’s participation and the efficiency of public services rendered by subdistrict administration It’s hypothesized that the subdistrict administration which people participate in the election community activities, and the development administration would eventually lead to the increasing efficiency of public services. This study comparatives two subdistrict administrations, namely Nongpo and Banmakleu, with respect to political participation and the efficiency of public services in these two communities. Methods used in this research comprise survey, intervies, observation from dare collection as well as statistical dare analysis. Findings indicate that in Banmakleu Subdistrict took part in those three aspects of participation more than the people of Nongpo Subdistrict. The efficiency in public services of Banmakleu was found to be higher than Nongpo Subdistrict Administration since Participation of the people of Banmakleu helped them learn how to monitor the activities and limit adminisnative monopoly by the community’s leaders. The people also helped indentify problems in developing plan. In the mean time, such political participation of the people of Nongpo Subdistrct Administration was found to be lower. This might be attrib _ted to the problem of communication and relationship among villages themselves. Furthermore, the relationship between the Villagers and the subdistrict administration was ra ther weak. This resulted in a lack of monitory of the subdistrict administration, Therefore the efficiency of the subdistrict Administration could eventually be affected.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองen_US
dc.subjectวัฒนธรรมทางการเมืองen_US
dc.subjectบริการสาธารณะen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลen_US
dc.subjectPolitical participationen_US
dc.subjectPolitical cultureen_US
dc.subjectPublic servicesen_US
dc.titleวัฒนธรรมทางการเมืองกับประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะ ขององค์การบริหารส่วนตำบล : ศึกษาเปรียบเทียบ อบต. บ้านมะเกลือ อ.เมือง และ อบต. หนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์en_US
dc.title.alternativePolitical culture and efficience in public services delivery of subdistrict administrations : a comparative study of Banmakleu and Nongpo Subdistrict Administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChantana.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorCharas.Su@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Akarapun_po_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ999.32 kBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_ch1_p.pdfบทที่ 11.36 MBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_ch2_p.pdfบทที่ 21.64 MBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_ch3_p.pdfบทที่ 3840.89 kBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_ch4_p.pdfบทที่ 41.46 MBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_ch5_p.pdfบทที่ 52.78 MBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_ch6_p.pdfบทที่ 61.03 MBAdobe PDFView/Open
Akarapun_po_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.