Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJirawat Chewaroungroaj-
dc.contributor.authorChatwit Pochan-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2008-05-29T04:42:05Z-
dc.date.available2008-05-29T04:42:05Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.isbn9745325902-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7096-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2005en
dc.description.abstractThis study aims to generate predicted drilling rate of penetration (ROP) model based on rock mechanics algorithm concept in order to improve drilling performance in the Gulf of Thailand. The first step of the study is to determine the bit sliding coefficient value which is depended on particular selected drilling bit. This process of work utilized drilling and wireline logging data from an offset well to construct Rock Mechanics Algorithm (RMA) model with RMA software. After that, statistical analysis method is brought into this stage to facilitate in data matching result. The drilling optimization model is constructed in RMA model with an appropriate bit sliding coefficient value derived from the previous process. In this procedure, Unconfined Compressive Strength (UCS), Overburden pressure, Fluid pore pressure, and drilled & wireline log recorded are input into the program. Finally, Specific Energy Rate of Penetration (SEROP) which is a potential maximum ROP scheme is generated at each wellbore depth. Moreover, RMA model also shows the zone of high abrasivivity formation in order to adjust drilling parameters while drilling to maintain drilling bit life. On drilling rig site study, SEROP with recommended drilling parameters are oriented to actual drilling operation. The results show the improvement of average ROP comparing to an offset well. A single bit run to Target Depth (TD) is also one of the accomplish result from the bit life study. The major benefits are eliminating redundant drilling bit cost and drilling rig cost from tripping time. RMA model is a powerful tool using with Cost per Foot (CPF) analysis while conduct drilling operation or encounter critical ROP situation. Drilling RMA model is also helpful for the project well designer and cost estimator.en
dc.description.abstractalternativeการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองทำนายอัตราการขุดเจาะโดยอาศัยการประยุกต์ใช้ขั้นตอน ทางกลศาสตร์หินเพื่อนำไปใช้พัฒนาประสิทธิภาพการขุดเจาะในอ่าวไทย โดยขั้นแรกจะทำการประเมิน ค่าสัมประสิทธิ์การขุดเจาะซึ่งมีค่าขึ้นอยู่กับประเภทของตัวเจาะแต่ละชนิดที่เลือกใช้ กระบวนการดังกล่าว จะใช้ข้อมูลจากการขุดเจาะและการหยั่งหลุมเจาะจากหลุมทดสอบเพื่อสร้างแบบจำลองการขุดเจาะด้วย โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางกลศาสตร์หิน จากนั้นจะนำวิธีวิเคราะห์ทางสถิติมาประยุกต์ใช้กับแบบจำลอง ที่สร้างขึ้นเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับผลที่ได้จริงจากหลุมทดสอบ จากกระบวนการการศึกษา ก่อนหน้า แบบจำลองการขุดเจาะถูกสร้างขึ้นด้วยค่าสัมประสิทธิ์ การขุดเจาะที่เหมาะสมร่วมกับข้อมูล ความแข็งของชั้นหิน ความดันเนื่องจากการกดทับ ความดันเนื่องจากของไหลในแหล่งกักเก็บและข้อมูล จากการขุดและหยั่งหลุมเจาะจากหลุมทดสอบ ในขั้นสุดท้ายแบบจำลองค่าอัตราการขุดเจาะและพารามิเตอร์ ของการขุดเจาะที่เหมาะสมจะถูกกำหนดขึ้นที่แต่ละระดับความลึกของหลุมเจาะ นอกจากนั้นแบบจำลอง ยังสามารถแสดงบริเวณของชั้นหินที่มีการกัดกร่อนสูงซึ่งสามารถนำไปปรับพารามิเตอร์ของการขุดเจาะ ระหว่างการขุดเจาะจริงเพื่อยืดอายุการใช้งานของหัวเจาะได้ ผลที่ได้จากการนำแบบจำลองการขุดเจาะ ไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติการจริงแสดงให้เห็นถึงค่าเฉลี่ยของ อัตราการขุดเจาะที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับหลุมทดสอบ อีกทั้งยังสามารถใช้หัวขุดเจาะเพียงหัวเดียวเพื่อขุดเจาะให้ถึงระดับความลึก เป้าหลายซึ่งถือเป็นสิ่งที่ประสบความสำเร็จที่ได้จากการทดลองเนื่องจากช่วยลดต้นทุนของหัวเจาะและ เวลาในการเช่าแท่นขุดเจาะ แบบจำลองอัตราการขุดเจาะที่เหมาะสมที่ได้จากการประยุกต์ใช้ขั้นตอนทาง กลศาสตร์หินเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์เมื่อใช้ร่วมกับการวิเคราะห์แบบค่าใช้จ่ายต่อความลึกในการปฏิบัติ การจริง โดยผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้แบบจำลองเพื่อช่วยในการตัดสินใจการวางแผนการขุดเจาะระหว่าง การขุดเจาะและการประมาณค่าใช้จ่ายในการจุดเจาะen
dc.format.extent5188522 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1720-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectRock mechanicsen
dc.subjectExcavationen
dc.titleApplication of Rock Mechanics Algorithm to Optimize Drilling Rate of Penetrationen
dc.title.alternativeการประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีทางกลศาสตร์หินเพื่อหาค่าอัตราการขุดเจาะที่เหมาะสมen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Engineeringes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplinePetroleum Engineeringes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorfmnjcr@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1720-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chatwit.pdf5.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.