Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญเรือน กิติวัฒน์-
dc.contributor.authorศิริพร วีระโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-25T01:38:04Z-
dc.date.available2020-11-25T01:38:04Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746337853-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70977-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงลักษณะบทบาทหน้าที่เชิงการสื่อสารที่ปรากฎบนสื่อปฏิทิน และวิธีการสื่อความหมายผ่านสื่อปฏิทิน วิธีการศึกษาใช้วิธีการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหาที่ปรากฎบนปฏิทิน ผลการวิจัยพบว่า ปฏิทินในปัจจุบันได้มีบทบาทหน้าที่เชิงการสื่อสารในสองลักษณะคือ บทบาท หน้าที่ดั้งเดิมในฐานะเป็นสื่อเพื่อการสื่อสารทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับวัน เวลา และบทบาทหน้าที่ ในการเป็นสื่อเพื่อการสื่อสารตามเจตนารมณ์ของผู้ผลิต วิธีการสร้างความหมายผ่านสื่อปฏิทินได้ถูกสร้างขึ้นโดยมีหลักการ 2 ประการคือ 1. วิธีการนำเสนออย่างมีอรรถรสของการสื่อสาร โดยออกแบบปฏิทินให้มีความสวยงาม แปลกตา การใช้ภาพและข้อความที่เร้าอารมณ์ การให้ข้อเท็จจริงเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ 2. วิธีการสร้างความหมายในเนื้อหาสาระ โดยการอ้างอิงบริบททางสังคม การใช้รหัส ภาษา และสัญลักษณ์ เพื่อก่อให้เกิดความเข้าโจร่วมกันระหว่างผู้ผลิตปฏิทินและผู้รับปฏิทิน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to examine the communicative functions of calendars and the meaning conveyed via calendars. This study employs a qualitative content analysis as a methodology. The results from the studied samples of contemporary calendars reveal that calendars have two communicative functions. The first function is to be a channel for common understanding in chronemics. The other is to communicate the intentions of the organizations with which the calendars are associated. There are two types of presentation through which meaning are conveyed in calendars 1. Presentation which has aesthetic appeal. This type of presentation usually employs attractive design, stimulating photos, provoking messages and reliable factural information. 2. Presentation which relies on semantic meaning with references to social context, codes, language and symbols.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectปฏิทิน -- ไทยen_US
dc.titleการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่เชิงการสื่อสารที่ปรากฎบนปฏิทินไทย พ.ศ. 2537en_US
dc.title.alternativeAn analysis of the communication function portrayed on Thai calendars 1994en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKwanruen.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriphorn_ve_front_p.pdf910.74 kBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_ch1_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_ch2_p.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_ch3_p.pdf747.4 kBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_ch4_p.pdf3.56 MBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_ch5_p.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_ch6_p.pdf895.59 kBAdobe PDFView/Open
Siriphorn_ve_back_p.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.