Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน อ่อนน่วม-
dc.contributor.authorสมบัติ โพธิ์ทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-25T09:12:05Z-
dc.date.available2020-11-25T09:12:05Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746353349-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71016-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง โดยใช้เมตาคอคนิชัน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง โรงเรียนอนุบาลสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยตามขั้นตอน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นทดสอบความสามารถในการแก่โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ก่อนเรียน ขั้นฝึกเมตาคอคนิชัน ขั้นนำเมตาคอคนิชันมาใช้สอนแก่โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ และขั้นทดสอบความสามารถในการแก่โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์หลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก่โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง หลังการสอนแก่โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้เมตาคอคนิชัน มีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop mathematical problem solving ability of Prathom Suksa six students with high mathematics learning achievement through metacognition. The subjects of the study were 30 Prathom Suksa six students with high mathematics learning achievement in Anubal Suphan Bun school, Changwat Suphan Buri. Instrument used in this study was mathematics problem solving ability test. The procedure of this study was consisted of 4 steps: pre-test, address metacognition, teaching mathematical problem solving through metacognition and post-test. It was found that after Prathom Suksa six students with high mathematics learning achievement learned problem solving in mathematics through metacognition, they had higher mean score of mathematical problem solving ability than before learned problem solving in mathematics through metacognition at .05 level of significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectความสามารถทางคณิตศาสตร์-
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน-
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.subjectAcademic achievement-
dc.subjectMathematics -- Study and teaching (Elementary)-
dc.subjectMathematical ability-
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง โดยใช้เมตาคอคนิชัน-
dc.title.alternativedevelopment of mathematical problem solving ability of prathom suksa six students with high mathematics learning achievement through metacognition-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineประถมศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sombat_po_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_po_ch1_p.pdfบทที่ 11.11 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_po_ch2_p.pdfบทที่ 22.79 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_po_ch3_p.pdfบทที่ 3988.4 kBAdobe PDFView/Open
Sombat_po_ch4_p.pdfบทที่ 41.35 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_po_ch5_p.pdfบทที่ 51.47 MBAdobe PDFView/Open
Sombat_po_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.