Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7103
Title: | Study of the properties and structures of polyurethane elastomers synthesized from norbornane diisocyanate |
Other Titles: | การศึกษาสมบัติ และโครงสร้างของโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่สังเคราะห์จากนอร์บอร์เนนเตนไดไอโซไซยาเนต |
Authors: | Prasert Reabroycharoen |
Advisors: | Siriporn Damrongsakkul |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | siriporn.d@chula.ac.th |
Subjects: | Polyurethanes Curing Polyurethane elastomers Diisocyanate Moisture Norbornane diisocyanate |
Issue Date: | 1999 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The structures and properties of two different types of polyurethane elastomers, moisture cured polyurethane elastomers and two-component polyurethane elastomers, produced from new cyclo-aliphatic isocyanate (norbornane diisocyanate), were studied and compared with the conventional isocyanate-based polyurethane elastomers. For moisture cured polyurethane elastomers, the effects of diisocyanates (norbornane diisocyanate (NBD) and isophorone diisocyanate (IPDI)) and the effects of NCO% were ivestigated. It was found that NBDI-based polyurethane elastomers have higher reactivity and weathering resistance than IPDI-based polyurethane elastomers. IPDI-based polyurethane elastomers have superior mechanical properties and better phase separation to NBDI-based polyurethane elastomers. From the structure analysis, it showed that the hydrogen-bonded urea carbonyl groups of IPDI-based polyurethane elastomers are more than those of NBDI-based polyurethane elastomers. This implies the higher strength in IPDI-based polyurethane elastomer as found in the tensile strength results. Increasing NCO% from 6% to 8% increases the tensile strength, which corresponds to the more amount of hydrogen-bonded N-H groups, hydrogen-bonded urethane and hydrogen-bonded urea groups of polyurethane elastomers at NCO% = 8% than 6%. For two-component polyurethane elastomers, tha effects of diisocyanates (norbornane diisocyanate, isophorone diisocyanate, m-xylene diisocyanate (m-XDI) and toluene diisocyanate (TDI) and the effects of curing agents (ethacure100 and ethacure300) were examined. NBDI-based polyrethane elastomers have higher reactivity and weathering resistance than IPDI-based polyurethane elastomers. IPDI-based polyurethane elastomers have superior mechanical properties and discolouration resistance to polyurethane elastomers prepared from the other diisocyanates (NBDI, m-XDI, TDI). IPDI-based polyurethane elastomers have better phase separation than NBDI-based polyurethane elastomers. Moreover, it was found that IPDI-based polyurethane elastomer is tougher than NBDI-based polyurethane elastomer and the aromatic diisocyanate (XDI and TDI)-based polyurethane elastomers are stiffer than the aliphatic diisocyanate (NBDI and IPDI)-based polyurethane elastomers. Ethacure100-based polyurethane elastomers have superior mechanical properties, higher discolouration resistance and higher reactivity but lower weathering resistance to ethacure300-based polyurethane elastomers. |
Other Abstract: | งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาโครงสร้าง และสมบัติของโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์สองชนิดที่แตกต่างกัน (โพลียูรีเทนอีลาสโตเมอร์ชนิดที่บ่มด้วยความชื้นในอากาศ (moisture cured polyurethand elastomers) และโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ชนิดสององค์ประกอบ (two-component polyrethane)) ที่ผลิตจากไซโคลอะลิฟาติกไอโซไซยาเนตชนิดใหม่ (new cyclo-aliphatic isocyanate) (นอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต (norbornane diisocyanate)) และเปรียบเทียบกับโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซไซยาเนตชนิดทั่วๆ ไป สำหรับโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ชนิดที่บ่มด้วยความชื้นในอากาศจะทำการศึกษาผลกระทบจากชนิดของไดไอโซไซยาเนต (นอร์บอร์เนนไอโซไซยาเนต และไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต) และผลกระทบของ NCO% จากการทดลองพบว่า โพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากนอร์เนนไดไอโซไซยาเนตมีความว่องไวและความต้านทานต่อสภาพอากาศสูงกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต ในขณะเดียวกันโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต มีสมบัติทางกล และมีการแยกเฟสดีกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากนอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต และจากการวิเคราะห์ทางโครงสร้างพบว่า โพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนตมีหมู่ยูเรียคาร์บอนิลที่มีพันธะไฮโดรเจนมากกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากนอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต ซึ่งเป็นการบอกโดยนัยถึงความแข็งแรงที่สูงกว่าในโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองในเรื่องความแข็งแรงทางแรงดึง การเพิ่ม NCO% จาก 6% เป็น 8% เป็นการเพิ่มความแข็งแรงทางแรงดึงของโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ซึ่งสอดคล้องกับจำนวนหมู่ N-H ที่มีพันธะไฮโดรเจน หมู่ยูรีเทนที่มีพันธะไฮโดรเจนและหมู่ยูเรียที่มีพันธะไฮโดรเจน ของโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ NCO% = 8% ซึ่งพบว่ามีมากกว่า ที่ NCO% = 6% สำหรับโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ชนิดสององค์ประกอบ จะทำการศึกษาผลกระทบจากชนิดของไดไอโซไซยาเนต (นอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต ไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต เมทราไซลีนไดไอโซไซยาเนต และโทลูอีนไดไอโซไซยาเนต) และผลกระทบจากชนิดของสารบ่ม (อิทาเคียวหนึ่งร้อย (ethacure100) และอิทาเคียวสามร้อย (ethacure300)) โพลิยูรีเทนอีลาสโอเมอร์ที่ผลิตจากนอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนตมีความว่องไว และความต้านทานต่อสภาพอากาศสูงกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต โพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนตมีสมบัติทางกล และความต้านทานต่อการเปลี่ยนสีสูงกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไดไอโซไซยาเนตชนิดอื่นๆ (นอร์บอร์เนนไดไอโซไซยยาเนต เมทราไซลีนไดไอโซไซยาเนต และโทลูอีนไดไอโซไซยาเนต) ในขณะที่โพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนตมีการแยกเฟสดีกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากนอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต ยิ่งไปกว่านั้นยับพบว่า โพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากไอโซโฟโรนไดไดโซไซยาเนตมีความเหนียวมากกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากนอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต และโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากอะโรมาติกไดไอโซไซยาเนต (นอร์บอร์เนนไดไอโซไซยาเนต และ ไอโซโฟโรนไดไอโซไซยาเนต) โพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากอิทาเคียวหนึ่งร้อยมีสมบัติทางกล ความต้านทานต่อการเปลี่ยนสี และความว่องไวสูง แต่มีความต้านทานต่อสภาพอากาศต่ำกว่าโพลิยูรีเทนอีลาสโตเมอร์ที่ผลิตจากอิทาเคียวสามร้อย |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1999 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7103 |
ISBN: | 9743329889 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
prasert.pdf | 13.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.