Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71040
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา สุภาพ | - |
dc.contributor.author | โอฬาร เอี่ยมประภาส | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-26T07:36:18Z | - |
dc.date.available | 2020-11-26T07:36:18Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9746396242 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71040 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ความรู้สึกผูกพันต่อบิดามารดา , ความใกกัชิดกับเพื่อนที่กระทำผิด , ฐานะทางเศรษฐกิจ , ลักษณะชุมชนที่อยู่อาศัย และ อิทธิพลของสื่อมวลชนกับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชน นอกจากนั้นได้ศึกษาถึงลักษณะการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนในสถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชาย (บ้านกรุณา) และสถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนสิรินธร การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.95 โดยใช้การสุ่มตัวอย่าง แบบโควต้า กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชากรซึ่งเป็นเด็กและเยาวชนในสถานฝึกและอบรมดังกล่าว จำนวนแห่งละ 150 คน รวมทั้งสิ้น 300 คน สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย , ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน , การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชน ใช้ค่าไคสแควร และใช้ค่าแกมม่า หาระดับความสัมพันธ์ของตัวแปรตันและตัวแปรตาม ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนมี 4 ปัจจัย ได้แก่ ความรู้สึกผูกพันต่อบิดามารดา , ความใกล้ชิดกับเพื่อนที่กระทำผิด , ฐานะทางเศรษฐกิจ และลักษณะ ชุมชนที่อยู่อาศัย โดยมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 2) มีเพียงปัจจัยเดียว คือ อิทธิพลของสื่อมวลชน ที่ไม่มี ความสัมพันธ์กับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชน โดยมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ กระทำผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 44.3 , รองลงมา ได้แก่, กระทำผิดตาม พ.ร.บ.อาเสพติดให้โทษ จำนวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 37.7 , การกระทำผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 10.3 และ กระทำผิดเกี่ยวกับเพศน้อยที่สุด จำนไน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 | - |
dc.description.abstractalternative | This research was to study various factors that were related to juvenile delinquency such as attachment to parents, attachment to other delinquents , economic condition, characteristics of habitat and the influence of mass media. The researcher also studied juvenile delinquency at the Training School for Boys (Ban Karuna) and the Sirindhorn Vocational Training School. Data were collected by questionnaires (reliability=0.95) using quota-sample. Total sample included 300 boys from both instioitions (150 boys from each institution). In this research, the data was analyzied by using percentage distribution, mean and standard deviation. Additionally, Chi-square was used to test whether or not the factors mentioned above were related to juvenile delinquency. Finally, Gamma was used to find the significant level of the relationships between independent and dependent variables. The finding of the research were that four factors related to juvenile delinquency, attachment to parents, attachment to delinquent juveniles, economic conditions, and the characteristics of habitats. The influence of mass media was not related to juvenile delinquency (significant level=0.05). The most committed crime by the sample was property crime (133 juveniles, 44.3%), followed by dealing with drugs (113 juveniles, 37.7%) and crime concerning life and bodily harm (37 juveniles. 10.3%). The least commited crime was sexual crime (23 juveniles, 7.7%). | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความผิดในคดีเด็กและเยาวชน | en_US |
dc.subject | อาชญากรรมของเด็ก | en_US |
dc.subject | อาชญากรรมวัยรุ่น | en_US |
dc.subject | เด็กที่เป็นปัญหา | en_US |
dc.subject | Juvenile delinquency | en_US |
dc.subject | Problem children | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชน | en_US |
dc.title.alternative | Factors related to juvenile delinquency | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สังคมวิทยามหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | สังคมวิทยา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | suphat@econ.tu.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Olarn_ie_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 947.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Olarn_ie_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 915.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
Olarn_ie_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Olarn_ie_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 775.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Olarn_ie_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Olarn_ie_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 981.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
Olarn_ie_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.