Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71067
Title: | Community survey : knowledge and practice of mothers of children aged six-months to three years on supplementary feeding in Harisiddi Village, Nepal |
Other Titles: | การสำรวจชุมชน : ความรู้และการปฏิบัติด้านอาหารเสริมของมารดา ที่มีบุตรอายุ 6 เดือน ถึง 3 ปี ในหมู่บ้านฮาริสิดดี ประเทศเนปาล |
Authors: | Radha Devi Bangdel (Shakya) |
Advisors: | Kitpramuk Tantayporn Sungkom Jongpiputvanich |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | No information provided Sungkom.J@Chula.ac.th |
Subjects: | Enriched foods Mother and child -- Nepal อาหารเสริม มารดาและบุตร -- เนปาล |
Issue Date: | 1996 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The study aimed to assess knowledge and practice of mothers on supplementary feeding in Harisiddi Village, Nepal 1996. Target population were mothers of children aged 6 months to 3 years. One hundred and twenty mothers were interviewed by trained interviewers using pretested questionnaire. Resuls of study showed that mothers’ incorrect knowledge was higher than correct on supplementary feeding age of child, and mothers did practice more inappropriately. In the type of supplementary food, correct understanding and practice was greater than incorrect. There was association between knowledge peas/beans and education at p-value. 02., and Practice of the first food local porridge and education was significant at P-value. 03. More mothers were aware of correct preparation of supplementary food and the right way of preparation was higher than the wrong. Understanding of preparing thick enough porridge and practice of semisolid food was influenced by mother’s age at P-value .05 and .02 respectively. Right concept of frequently feeding was found greater than wrong concept, and more mothers showed practice correct. Practice of two hourly feeding was associated with mother’s age at P-value .05. In three aspects of supplementary feeding, half of mothers exhibited correct knowledge and practice, and in one aspect it was less half. Recommendation: 1. Regular child nutrition education program targeting young mothers. 2. Encourage traditional positive concept and practice in new generation 3. More information about supplementary food types should be given to the older mothers (>30 yrs). 4. Increase local health care facilities. 5. Suitable media in teaching. 6. Low cost nutritious food should be included in nutrition education program. 7. National supplementary feeding guideline. |
Other Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้และการปฏิบัติด้านอาหารเสริมของมารดา ในหมู่บ้านฮาริดสิดดี ประเทศเนปาล พ.ศ.2539 โดยมีประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็นมารดา ซึ่งมีบุตรอายุระหว่าง 6 เดือนถึง 3 ปี จำนวนรวมทั้งสิ้น 120 คน การเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์โดยผู้สัมภาษณ์ได้รับการฝึกอบรมก่อนปฏิบัติงาน และใช้แบบสอบถาม ซึ่งได้ทดสอบเรียบร้อยแล้ว ผลของการศึกษาพบว่าความรู้และการปฏิบัติของมารดาด้านการให้อาหารเสริมแก่เด็กเป็น ความรู้และการปฏิบัติแบบไม่ถูกต้องสูงกว่าแบบถูกต้อง ส่วนความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับประเภทของอาหารเสริม เป็นความรู้และการปฏิบัติที่ถูกต้องมากกว่าไม่ถูกต้อง และพบว่าความรู้เกี่ยวกับอาหารประเภทถั่วมีความสัมพันธ์กับการศึกษา ที่ P-value .02 การให้ข้าวโอ๊ตต้มกับน้ำหรือน้ำนมเป็นอาหารเสริมอันดับแรก มีความสัมพันธ์กับการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญที่ P-value .03 มารดาที่รู้จักการเตรียมอาหารเสริมอย่างถูกต้องมีมากกว่ามารดาที่รู้อย่างไม่ถูกต้อง และมีการปฏิบัติอย่างถูกต้องมากกว่าไม่ถูกต้อง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมข้าวโอ๊ตที่ข้นเพียงพอและการเตรียมอาหารประเภท กึ่งเหลวสัมพันธ์กับอายุของมารดา ที่ P-value .05 และ .02 ตามลำดับ ส่วนความคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับการให้ อาหารบ่อยๆ พบว่ามีมากกว่าความคิดแบบผิดๆ และมารดาได้ปฏิบัติอย่างถูกต้องด้วย ส่วนการให้อาหารทุก 2 ชั่วโมง สัมพันธ์กับอายุของมารดาที่ P-value .05 โดยสรุปมีมารดาจำนวนครึ่งหนึ่งที่แสดงว่ามีความรู้และการปฏิบัติที่ถูกต้อง ใน 3 ประเด็นของการให้อาหารเสริม และมีเพียงประเด็นเดียวที่มี จำนวนมารดาต่ำกว่าครึ่งหนึ่งที่มีความรู้ และการปฏิบัติอย่างถูกต้อง ข้อเสนอแนะะ 1 ควรจัดโปรแกรมโภชนาการสำหรับเด็กโดยมุ่งให้ความรู้แก่มารดาที่อายุน้อย อย่างสม่ำเสมอ 2. สนับสนุนให้คนรุ่นใหม่มีความคิดและการปฏิบัติที่ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมที่มีมาแต่เดิม 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับประเภทของอาหารเสริมแก่มารดาที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ให้มากขึ้น 4. เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการดูแลสุขภาพในท้องถิ่น 5. จัดให้มีสื่อการสอนที่เหมาะสม 6. โปรแกรมการให้ความรู้ด้านโภชนาการควรแนะนำอาหารทางโภชนาการที่ราคาถูก 7. ควรจัดทำแนวทางการให้อาหารเสริมในระดับชาติ |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1996 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Health Development |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71067 |
ISBN: | 9746359029 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Radha_de_front_p.pdf | 954.26 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Radha_de_ch1_p.pdf | 741.68 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Radha_de_ch2_p.pdf | 727.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Radha_de_ch3_p.pdf | 921.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Radha_de_ch4_p.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Radha_de_ch5_p.pdf | 746.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Radha_de_back_p.pdf | 945.78 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.