Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทุมพร จามรมาน-
dc.contributor.advisorสุมาลี ชิโนกุล-
dc.contributor.authorอารี มากมณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-27T04:05:50Z-
dc.date.available2020-11-27T04:05:50Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746396145-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71079-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาแบบสอบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยอิงทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบโดยการตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาค กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปี การศึกษา 2540 จำนวน 1,157 คนผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบแบบ modified cloze test เป็นแบบสอบแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อขึ้นทดลองใช้และวิเคราะห์ ข้อมูล ค่าอำนาจจำแนก ค่าความยากตามลำดับชั้น ค่าฟังก์ชันสารสนเทศของแบบสอบ โดยใช้โปรแกรม Multilog ค่าความเที่ยงการประมาณค่า ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ ความตรงเชิงจำแนก เกณฑ์ปกติวิสัย โดยใช้โปรแกรม SPSS และความตรงเชิงโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัยพบว่า แบบสอบมีค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ย 0.93 ค่าความยากตามลำดับชั้นที่ 1 เฉลี่ย -2.30 ค่าความยากตามลำดับขั้นที่ 2 เฉลี่ย 0.49 ค่าฟังก์ชันสารสนเทศของแบบสอบตามทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบโดยการตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาคมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อใช้กับผู้สอบที่ระดับความสามารถ -1.0 ค่าความเที่ยงมีค่าเท่ากับ 0.86 ค่าความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ความตรงเชิงจำแนก พบว่า ผู้สอนในกลุ่มเก่งมีคะแนนเฉลี่ยความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษสูงกว่า ผู้สอบในกลุ่มอ่อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ความตรงเชิงโครงสร้าง พบว่า โมเดลความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ แบบสอบความเข้าใจในการ อ่านภาษาอังกฤษมีตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ตรงกับคะแนน 64 ตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ตรงกับ คะแนน 70 ตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 75 ตรงกับคะแนน 74-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to construct and develop the reading comprehension test in English for Prathom Suksa Six students using the Polytomous Item Response Model. The 1,157 Prathom Suksa Six students from primary schools in Bangkok were the samples. The 30 multiple-choice test (modified cloze test) was constructed, tried out and analyzed. Using the Multilog program to determine item discriminitation, threshold, test information function. Reliability, criterion-related validity, discriminant validity and norm were analyzed using the SPSS program. The construct validity was analyzed using LISREL program. The results show that the average item discrimination is 0.93, -2.30 for the first threshold and 0.49 for the second threshold. The polytomous IRT based test information function was found to be most efficient if the test was administered to the examinees with ability level -1.0. The test indicated the maginal reliability of 0.86. The criterion-related validity between the test that the researcher made and the test that teacher made was significant at the level of 0.001. The discriminant validity between high group and low group was significant at the level of .001. The construct validity of model of reading comprehension test was corresponded to the empirical data. Percentile rank 25 of the test was equal to the score of 64, percentile rank 50 was equal to the score of 70 and percentile rank 75 was equal to the score of 74.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเข้าใจในการอ่านen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษen_US
dc.subjectการอ่านขั้นประถมศึกษาen_US
dc.subjectแบบทดสอบen_US
dc.subjectการให้คะแนน (นักเรียนและนักศึกษา)en_US
dc.subjectReading comprehensionen_US
dc.subjectEnglish languageen_US
dc.subjectReading (Elementary)en_US
dc.subjectGrading and marking (Students)en_US
dc.titleการพัฒนาแบบสอบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาคen_US
dc.title.alternativeA development of reading comprehension test in English for prathom suksa six students using polytomous scoringen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCheerapan.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSumalee.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aree_ma_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.01 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ma_ch1_p.pdfบทที่ 1950.67 kBAdobe PDFView/Open
Aree_ma_ch2_p.pdfบทที่ 21.5 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ma_ch3_p.pdfบทที่ 32.7 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ma_ch4_p.pdfบทที่ 43.81 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ma_ch5_p.pdfบทที่ 5931.76 kBAdobe PDFView/Open
Aree_ma_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.