Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ เธียรถาวร-
dc.contributor.authorอัสมา พิมพ์ประพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-27T07:28:05Z-
dc.date.available2020-11-27T07:28:05Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743320199-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71087-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงเนื้อหาและรูปแบบของสื่อมวลชน กลยุทธการใช้สื่อมวลชน การกำหนดบทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน รวมทั้งการประเมินประสิทธิผลการใช้สื่อมวลชนเพื่อการเผยแผ่ อิสลาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เอกสาร เทปบันทึกรายการวิทยุกระจายเสียง เทปบันทึกรายการ โทรทัศน์วารสาร 14 ฉบับ การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มผู้รับสาร (Reciever) ซึ่งเป็นประชากรมุสลิมที่ อาศัยอยู่ในเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร จำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบ สอบสาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรรณา ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. รูปแบบและเนื้อหาในสื่อมวลชนทั้ง 3 ประเภท มีดังนี้ 1. สื่อวารสาร เป็นวารสารเชิงวิชาการ ศาสนาอิสลาม 2. สื่อวิทยุกระจายเสียง เป็นรายการนิตยสารทางอากาศ 3. สื่อวิทยุโทรทัศน์ เป็นรายการวิทยุ โทรทัศน์ที่ไม่แสวงหาผลกำไร ซึ่งแนวเนื้อหาในสื่อมวลชนทั้ง 3 ประเภทจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิชาการศาสนาอิสลามทุกด้าน รวมทั้งการรายงานข่าว และวิเคราะห์สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม โดยใช้หลักธรรมคำสอนของอิสลามมาเป็นกรอบนำการวิเคราะห์ 2. เทคนิคในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุดนั้น ได้ใช้สื่อมวลชนแบบผสม โดยใช้สื่อวิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อหลัก สื่อวิทยุโทรทัศน์และสื่อวารสารเป็นสื่อเสริม (Support Media) นอกจากนั้นยังมีการ ใช้สื่อมวลชนผสมกับสื่อบุคคลอีกด้วย 3. สื่อมวลชนทั้ง 3 ประเภท ได้แสดงบทบาทและหน้าที่ต่อสังคมมุสลิมและสังคมทั่วไป 3 ประการ คือ (1) บทบาทในการเผยแผ่หสักธรรมคำสอนของอิสลาม (2) บทบาทในการประสานส่วนต่าง ๆ ของสังคมให้ รวมตัวทันอยู่ได้ (3) บทบาทในการถ่ายทอดมรดกจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง 4. สื่อมวลชนมืประสิทธิผลในการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในสาระคำสอนของอิสลามได้เป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความคิดและพฤติกรรมอย่างถาวร เนี่องจากสื่อมวลชนเป็น เพียงตัวเสริมความเชื่อความศรัทธาที่มีอยู่เดิมให้ฝังแน่น มากกว่าการเปลี่ยนแปลงทัศนคติอย่างสิ้นเซิง-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study a content and form of mass media, mass media usage stragtegy, the determination of mass media's function including effectiveness evaluation in mass media usage to disseminate Islam. The sample groups of this study are documents , tape recorder radio broadcast program, tape recorder of television program, 14 journals , interview with involving people and receivers which are muslim citizen that stay in Suan Luang zone in the amount of 377. The tools using togather the information are questionnaire, informational analysis using to analyse the frequency, percentage value and content analysis by description. The results of this research are these following 1. The form and content in 3 types of mass media (1) journal media which is an academic Islam religion journal (2) radio broadcast is ajournai program on air (3) television media is the television program which seeking no benefit. The content in all 3 types of mass media will be the story about all aspects of academic Islam religion including news program and situation analysis that happen in the society' by using Islam's teachings as the guide in an analysis 2. Technique to approach the target as much as possible using combination media which use radio broadcast as a main part, television and journal media as the support media. And also using the combination media with person media. 3. 3 types of mass media perform the function and duty to muslim society and common society in 3 parts (1) function in Islam's teachings dissemination (2) function to combine parts of society together (3) function to pass on the heritage from generation to next generation 4. Mass media has an effectiveness to build up knowledge and understanding in the content of Islam's teachings very well 5 but unable to make any change in the idea and permanent behavior because mass media is only the supportive factor of deep - rooted original faith and believe rather changing any attitude.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectศาสนาอิสลามen_US
dc.subjectสื่อมวลชนen_US
dc.subjectสื่อมวลชนกับการเผยแพร่ข่าวสารen_US
dc.subjectContent analysis (Communication)en_US
dc.subjectIslamen_US
dc.subjectMass media and publicityen_US
dc.titleการใช้สื่อมวลชนเพื่อเผยแพร่อิสลาม (ศึกษาเฉพาะกรณีมูลนิธิสันติชน)en_US
dc.title.alternativeMass media usage for dissemination Islam (a case study of santichon muslim foundation)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Asma_ph_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.04 MBAdobe PDFView/Open
Asma_ph_ch1_p.pdfบทที่ 11.24 MBAdobe PDFView/Open
Asma_ph_ch2_p.pdfบทที่ 21.8 MBAdobe PDFView/Open
Asma_ph_ch3_p.pdfบทที่ 3992.32 kBAdobe PDFView/Open
Asma_ph_ch4_p.pdfบทที่ 47.35 MBAdobe PDFView/Open
Asma_ph_ch5_p.pdfบทที่ 51.36 MBAdobe PDFView/Open
Asma_ph_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก13.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.