Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71092
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorพัสนัย นุตาลัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-27T08:16:43Z-
dc.date.available2020-11-27T08:16:43Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746373439-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71092-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractชนชั้นกลางในมิติทางวัฒนธรรมจัดเป็นกลุ่มบุคคลที่มีศักยภาพทางการสื่อสารโดยใช้ช่องทางการสื่อสารรูปแบบต่างๆ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์และผลประโยชน์ทางชนชั้นของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่มีข้อสงสัยอยู่ว่าชนชั้นกลางได้ยืนอยู่ ณ จุดใดท่ามกลางการเผชิญหน้ากันของอุดมการณ์ฝ่ายต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคม ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการวิจัยศึกษาขึ้น เพื่อค้นหาว่าวิธีเล่นการเมืองของชนชั้นกลางในชีวิตประจำวันและการต่อสู้ ทางด้านอุดมการณ์ของชนชั้นกลางนั้นมีรูปแบบอย่างไร โดยเฉพาะวิธีเล่นการเมืองบนหน้าหนังสือพิมพ์และการตอบสนองผลประโยชน์ทางชนชั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสำรวจรูปแบบการสื่อสารทางการเมืองของชนชั้นกลางในหนังสือพิมพ์ 2. เพื่อวิเคราะห์ทัศนะของชนชั้นกลางต่อหนังสือพิมพ์ในการตอบสนองผลประโยชน์ทางชนชั้น ผลการวิจัยปรากฏว่า ชนชั้นกลางมีรูปแบบการสื่อสารทางการเมืองพบว่ามือยู่ 5 รูปแบบ คือ 1. แบบแผนการเป็นผู้รับสารอย่างเดียว 2. แบบแผนการเป็นผู้รับสารอย่างเดียว พร้อมกับเป็นผู้ส่งในการสื่อสารระหว่างบุคคล 3. แบบแผนการเป็นผู้รับสารอย่างเดียว พร้อมกับเป็นผู้ส่งในการสื่อสารระหว่างบุคคล และเป็นผู้ส่งสารในสื่อมวลชน 4.แบบแผนการเป็นผู้รับสารอย่างเดียว พร้อมกับเป็นผู้ส่งในการสื่อสารระหว่างบุคคล และเป็นผู้ส่งสารแบบเครือข่าย 5. ใช้ทุกรูปแบบการสื่อสารร่วมกัน สำหรับอุดมการณ์ของชนชั้นกลาง พบว่าเป็นอุดมการณ์ที่มีความหลากหลาย ซึ่งประกอบไปด้วย อุดมการณ์ แบบผลประโยชน์ส่วนรวม, อุดมการณ์แบบผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม, อุดมการณ์ประจำวิชาชีพ และ การเชื่อมอุดมการณ์เฉพาะกลุ่มและอุดมการณ์วิชาชีพเข้าไว้ด้วยกัน-
dc.description.abstractalternativeMiddle-class in the meaning of socio-cultural dimension is the group with high potential to communicate through various media channels in order to exchange disseminate ideas. But there have been doubts as to exactly where the middle-class stand amid a series of ideological confrontations in society. This study was conducted in order to figure out political involvement of the middle class in their daily life and their methods in fighting for their political ideologies, especially through the print media. The research was intended to survey how the middle class communicate on political affairs through the print media and analyze their views toward print media in responding for benefits of the class. The study discovered five forms of communications. 1. Being passive recipients of information 2. Being recipients of informations and occasionally messengers of information through interpersonal contacts. 3. Being recipients of informations and occasionally messengers of information between individuals [and through the mass media. 4. Being recipients of informations and at the same time messengers of information through pejrsonel contacts and networking communication. 5. Being involved in integrated communication. Meanwhile, the study found that the middle class have a variety of ideologies. They are concerned about majority interests, or vested interests. There are also professional ideologies and the blends of jested interests and professional ideologies.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectชนชั้นกลาง -- ไทย -- กิจกรรมทางการเมืองen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการเมืองen_US
dc.subjectหนังสือพิมพ์en_US
dc.subjectMiddle class -- Thailand -- Political activityen_US
dc.subjectCommunication in politicsen_US
dc.subjectNewspapersen_US
dc.titleการสื่อสารทางการเมืองของชนชั้นกลางen_US
dc.title.alternativePolitical communication of the middle classen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Passanai_nu_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ311.84 kBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch1.pdfบทที่ 1537.74 kBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch2.pdfบทที่ 21.17 MBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch3.pdfบทที่ 3233.86 kBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch4.pdfบทที่ 41.21 MBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch5.pdfบทที่ 53.8 MBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch6.pdfบทที่ 62.35 MBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_ch7.pdfบทที่ 7961.31 kBAdobe PDFView/Open
Passanai_nu_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก336.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.