Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรวิชช์ นาครทรรพ-
dc.contributor.authorสุมาลี ขุนจันดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-30T06:13:59Z-
dc.date.available2020-11-30T06:13:59Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746394584-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71131-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ของแนวคิดการเสริมสร้างพลังในองค์กร แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังในองค์กรทางการศึกษาที่เน้นในเรื่องการบริหารจัดการในองค์กร โดย เฉพาะการเสริมสร้างพลังครู และศึกษาคุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเสริมสร้างพลังครูในโรงเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้วิธีวิจัยเชิงบรรยาย ในขั้นแรก สร้างแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมี โครงสร้าง เพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับองค์ความรู้ของแนวคิดการเสริมสร้างพลัง แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังในองค์กรทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การเสริมสร้างพลังครู และศึกษาคุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเสริมสร้างพลังครู ในขั้นที่สอง นำข้อมูลที่ได้จากการ สัมภาษณ์เกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเสริมสร้างพลังครู และจากการศึกษาเอกสาร มาสร้างเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเสริมสร้างพลังครู โดยส่งแบบ สอบถามทางไปรษณีย์ เพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้อำนวยการการประถมศึกษาลังหวัด จำนวน 76 คน และผู้บริหารโรงเรียนระดับประถมศึกษาดีเด่น จำนวน 89 คน และนำแบบสอบถามมาวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงสำรวจ สกัดองค์ประกอบแบบวิธีองค์ประกอบแกนมุขสำคัญ และหมุนแกนแบบออบลิมิน ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดการเสริมสร้างพลังเป็นแนวคิดที่นำมาใช้เพื่อพัฒนาองค์กร โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการทำงาน/การบริหารงานในองค์กร และมีการทำงานเป็นทีม เพื่อทำให้องค์กรมีผลงาน/ผลผลิตที่ดีขึ้น และแนวคิดการเสริมสร้างพลังนี้มีความเหมาะสมในการนำใปใช้ในการพัฒนาองค์กรทางการศึกษา และควรมีการปรับโครงสร้างระบบบริหารในองค์กร โดยมีการวางแผนงานให้มีการกระจายอำนาจให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงานเป็นทีม และควรมีการเสริมสร้างพลังให้กับบุคคลทุกระดับในองค์กร และ ยังพบว่า คุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเสริมสร้างพลังครู ประกอบด้วย 9 ด้าน ได้แก่ ด้าน ความสามารถในการวางแผนงาน ด้านความปราดเปรื่องในเชิงความคิด ด้านความเป็นประชาธิปไตยในการทำงาน/การบริหารงาน ด้านการมองผู้อื่นในแง่ดี ด้านจริยธรรมและคุณธรรมในการทำงาน ด้านความสามารถในการบริหารคนและบริหารงาน ด้านการมีทัศนคติทีดีต่อตนเองและต่องาน ด้านความประพฤติที่เป็นแบบอย่างที่ดี และด้านความ สามารถในการชี้นำผู้อื่น-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were to study the concepts of empowerment and their application to educational organization, emphasizing teacher empowerment in management perspective. It also focused on the study of desired characteristics of teacher as change agents for empowerment in elementary schools. At first stage, the researcher employed a semi-structured interview with educational experts to collect their opinion about the general notions of empowerment and their application to educational organization, especially the empowerment of teachers. The second stage, the researcher developed a questionnaire focusing on desired characteristics of teacher as change agents for empowerment based on data from preliminary interview combined with documentary research. These questionnaires were sent to directors of seventy-six Provincial Elementary Educational Offices and administrators of eighty-nine Elementary Schools recognized for their outstanding performance. Responding questionnaires were analyzed by exploratory factor analysis, principal axis factoring method extraction and oblimin rotation method. The major findings are as followed : Empowerment concept is a tool for organizational development emphasizing participation of personnel and teamworking atmosphere. In educational organization development this empowerment concept is seen to be appropriate. Restructuring of administrative system is recommended, however. It is advised that administrative power be re-distributed. Every member of organization should take part in participatory team efforts. Empowerment is to be shared with personnel at all level. The research also finds that proper characteristics of teacher as change agents for empowerment in schools include : Capacity in planning, Vision and Intelligence, Democratic approach, Positive attitude towards others, Work ethics, Capability in managing people and tasks, Good attitude towards one’s ownself and work, Good personality and Leadership and Motivative Power.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectครูประถมศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectการบริหารองค์การen_US
dc.subjectผู้นำการเปลี่ยนแปลงen_US
dc.subjectการจัดองค์การen_US
dc.subjectEducation -- Thailanden_US
dc.subjectElementary school teachers -- Thailanden_US
dc.subjectAssociations, institutions, etc. -- Managementen_US
dc.subjectTransformational leadershipen_US
dc.subjectOrganizationen_US
dc.titleการวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเสริมสร้างพลังครูในโรงเรียนระดับประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeFactor analysis characteristics of change agents for teacher empowerment in elementary schoolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAmornwich.N@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumalee_kh_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Sumalee_kh_ch1_p.pdfบทที่ 1917.63 kBAdobe PDFView/Open
Sumalee_kh_ch2_p.pdfบทที่ 24.91 MBAdobe PDFView/Open
Sumalee_kh_ch3_p.pdfบทที่ 31.05 MBAdobe PDFView/Open
Sumalee_kh_ch4_p.pdfบทที่ 46.72 MBAdobe PDFView/Open
Sumalee_kh_ch5_p.pdfบทที่ 52.29 MBAdobe PDFView/Open
Sumalee_kh_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.