Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71288
Title: Monocyclopentadienyl metallocene catalyst with methylaluminoxane as cocatalyst for styrene polymerization
Other Titles: ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนโมโนไซโคลเพนตะไดอีนิลโดยมีเมทิลอะลูมินอกแซนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมสำหรับสไตรีนพอลิเมอไรเซชัน
Authors: Supaporn Khaubunsongserm
Advisors: Piyasan Praserthdam
Supakanok Thongyai, M.L.
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: piyasan.p@chula.ac.th
tsupakan@chula.ac.th
Subjects: Catalysts
Metallocene catalysts
Polymerization
ตัวเร่งปฏิกิริยา
ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน
โพลิเมอไรเซชัน
Issue Date: 1998
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: การเกิดพอลิเมอร์แบบของเหลวผสมของสไตรีนด้วยระบบตัวเร่งปฏิกิริยาอินดินิลไทเทเนียม ไตรคลอไรด์ร่วมกับเมทิลอะลูมินอกแซนถูกค้นคว้าเพื่อศึกษาผลของอัตราส่วนเชิงโมลของอะลูมิเนียม ต่อไทเทเนียม, อุณหภูมิของการเกิดพอลิเมอร์ และความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยา จากผลการทดลอง พบว่า ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยามีค่าสูงสุดที่อัตราส่วนเชิงโมลของอะลูมิเนียมต่อไทเทเนียมเท่า กับ 4,000 อุณหภูมิของการเกิดพอลิเมอร์ 50 องศาเซลเซียส และความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยาอินดินิลไทเทเนียมไตรคลอไรด์ เท่ากับ 2.65x104 โมลต่อลิตร และไทเทเนียมนี้มีสถานะออกซิเดชันเท่ากับ 3 เป็นอนุมูลที่ว่องไวสำหรับการเกิดพอลิเมอร์สไตรีน นอกจากนี้ได้ทำการศึกษาการเกิดพอลิเมอร์สไตรีน โดยการใช้ไตรเมทิลอะลูมินัม เพื่อตรวจสอบผลของเวลาของการเกิดพอลิเมอร์, อุณหภูมิของการเกิดพอลิเมอร์ และความเข้มข้นของไตรเมทิลอะลูมินัม พอลิสไตรีนสามารถถูกผลิตได้ที่ความเข้มข้นของไตรเมทิลอะลูมินัมมากกว่า 0.1391 โมลต่อลิตร ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาจะลดลงตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิของการเกิดพอลิเมอร์ เครื่องสกัดซอคห์เลท (soxhlet) และเทคนิคทางด้านเอฟทีไออาร์ (FT-IR) ถูกใช้ในการวัดคุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์พอลิสไตรีน ซินดิโอแทคติกซิตี้ของพอลิสไตรีนที่ ได้โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาอินดินิลไทเทเนียมไตรคลอไรด์สูงกว่าการใช้ไตรเมทิลอะลูมินัม
Other Abstract: The slurry polymerization of styrene with indenyltitaniumtrichloride (IndTiCl3) in combination with methylaluminoxane (MAO) was investigated to study the effect of Al/Ti mole ratio, polymerization temperature, and catalyst concentration. From the experimental results, it was found that the catalytic activity was the highest at Al/Ti mole ratio of 4,000 polymerization temperature of 50°c, and IndTiCl3 catalyst concentration of 2.65x1(T4 mol/l, and Ti3+ is the active species for styrene polymerization. In addition, it was studied in the styrene polymerization by using trimethyaluminum (TMA) to examine the effect of polymerization time, polymerization temperature, and TMA concentration. At the concentration of TMA more than 0.1391 mol/l, polystyrene can be produced. The catalytic activity decreased with the increment of the polymerization temperature. Soxhlet extractor and FT-IR technique were used to measure the properties of polystyrene product. Syndiotacticity of obtained polystyrene with using lndTiCl3 catalyst is higher than that with using TMA.
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1998
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71288
ISBN: 9743319697
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supaporn_kh_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.05 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_ch1_p.pdfบทที่ 1702.63 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_ch2_p.pdfบทที่ 2884.89 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_ch3_p.pdfบทที่ 31.98 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_ch4_p.pdfบทที่ 4929.79 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_ch5_p.pdfบทที่ 52.43 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_ch6_p.pdfบทที่ 6621.61 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_kh_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.