Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวงศ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.authorอิศรา พิริยะพิเศษพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-08T01:47:39Z-
dc.date.available2020-12-08T01:47:39Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746380656-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71347-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการปรับเทียบแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการคุณภาพนํ้าผิวดิน บริเวณโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์,1 MIKE 11” 2 ส่วนคือ Hydrodynamic model ( HD model ) และ Transport Dispersion model ( TD model ) เพื่อวิเคราะห์ค่าทางชลศาสตร์และค่าการแพร่กระจายของมลสารในลำน้ำแม่เมาะ ซึ่งพารามิเตอร์คุณภาพน้ำที่ศึกษา คือ ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด ( Total Dissolved Solids; TDS ) และซัลเฟต ( Sulfate ) ซึ่งเป็นมลสารที่สำคัญอันเนื่องมาจากการดำเนินกิจกรรมของโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ โดยขอบเขตของต้นน้ำอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้า หน่วยที, 1 - 3 ประมาณ 2 กิโลเมตร ซึ่งรองรับน้ำทิ้ง จากเหมืองแม่เมาะและโรงไฟฟ้า หน่วยที่ 1 - 3 และอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้า หน่วยที่ 4 - 13 ประมาณ 2 กิโลเมตร ซึ่งรองรับน้ำทิ้งจากโรงไฟฟ้า หน่วยที่ 4 - 13 ขอบเขตท้ายน้ำอยู่ห่างจากอ่างแม่เมาะ ประมาณ 1 กิโลเมตร โดยมี สถานีปรับเทียบค่าระดับน้ำและพารามิเตอร์คุณภาพน้ำ อยู่ห่างจากอ่างแม่เมาะ ประมาณ 200 เมตร ข้อมูลที่ใช้ในการปรับเทียบแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เก็บสำรวจในช่วงเดือนมกราคมถึงมิถุนายน พ.ศ. 2540 โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ. ) ซึ่งผลการปรับเทียบแบบจำลองโดย HD model คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระแมนนิ่ง ( Manning’s n ) มีค่าระหว่าง 0.033 - 0.050 เมตร1/3/ วินาที และโดย HD model คำนวณค่าสัมประสิทธิ์การแพร่กระจาย ( Dispersion Coefficient ) มีค่าระหว่าง 700 - 900 เมตร2/วินาที ค่าที่ได้จากการปรับเทียบ นำมาใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง ผลการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง โดยใช้ข้อมูลที่เก็บสำรวจในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงตุลาคม พ.ศ. 2540 พบว่าระดับน้ำ ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมดและซัลเฟตจากการคำนวณ มีค่าใกล้เคียง กับข้อมูลจากการสำรวจ ซึ่งเมื่อนำมาทดสอบหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย ได้ค่า r = 0.9201 , 0.9461 และ 0.9429 ตามลำดับ และค่าจากข้อมูลทั้งสอง ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ( Paired t-test ) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %-
dc.description.abstractalternativeCalibration of a mathematical model for surface water quality management at the Mae Moh power plants and lignite mine is based on two modules of the mathematical model “ MIKE 11 ” the Hydrodynamic model (HD model) and the Transport Dispersion model (TD model). The purpose of this study is to analyze hydraulic and dispersion characteristics of the Mae Moh channel. Water quality parameters are total dissolved solids and sulfate which are important pollutants originating from operation of the Mae Moh power plants and mine. The upper boundary of the analyzed area are far from the unit 1 - 3 power plants approximately 2 kilometres which collects the drainage from the unit 1 - 3 power plants and Mae Moh mine and far from the unit 4-13 power plants approximately 2 kilometres which collects the drainage from the unit 4-13 power plants. The lower boundary is far from the Mae Moh reservior about 1 kilometre. The calibrated station of water level and water quality parameters is far from the Mae Moh reservior about 200 metres. All calibrated data were collected during the period between January and June 1997 by the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT). Using these data to calibrate of the mathematical model 1 it was found that values for Roughness coefficient (Manning’s n) are between 0.033 and 0.050 m1/3/sec and values for Dispersion coefficient are between 700 and 900 m2/sec. The calibrated values were used to verify the mathematical model. Collected data in the period between July and October 1997 were used to verify the mathematical model. The calculated values for water level, total dissolved solids and sulfate closely match the survey data and gave the simple correlation ; r = 0.9201 , 0.9461 and 0.9429 respectively. The values for the two data sets are not significantly different (Paired t-test) at the 95 % confidence interval.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.subjectคุณภาพน้ำen_US
dc.subjectMathematical modelsen_US
dc.subjectManagementen_US
dc.subjectWater qualityen_US
dc.titleการปรับเทียบแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อการจัดการคุณภาพน้ำผิวดิน บริเวณโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะen_US
dc.title.alternativeCalibration of mathematical model for surface water quality management at Mae Moh Power Plant and Mineen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThavivongse.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Isara_pi_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ435.87 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_ch1.pdfบทที่ 1321.25 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_ch2.pdfบทที่ 2922.87 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_ch3.pdfบทที่ 3806.75 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_ch4.pdfบทที่ 4825.77 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_ch5.pdfบทที่ 5746.77 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_ch6.pdfบทที่ 6197.89 kBAdobe PDFView/Open
Isara_pi_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.