Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAnuvat Sirivat-
dc.contributor.advisorBrostow, Witold-
dc.contributor.authorYindee Tongkhundam-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2020-12-08T07:02:53Z-
dc.date.available2020-12-08T07:02:53Z-
dc.date.issued2003-
dc.identifier.issn9741723482-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71405-
dc.descriptionThesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2003-
dc.description.abstractThe science and engineering of friction and wear involving polymer surfaces are not well understood. From various types of polymeric materials available, we investigated tribological properties of films made from copolymers of perfluoroalkylethyl methacrylate and methyl methacrylate monomers. 4wt% copolymer solutions were spun cast onto 1mm thick PMMA sheet substrates. The effects of monomer ratio and processing method on tribological properties were studied from contact angle measurements, and TE79 multi-axis tribology measurements. We found that there was an optimum ratio of FMA to MMA, in the range of (1-5)x10-3, to attain a minimum kinetic friction coefficient. The results obtained are discussed in terms of proposed friction and wear mechanisms.-
dc.description.abstractalternativeเนื่องด้วยในภาวะปัจจุบัน ความรู้ความเข้าใจในเชิงวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมเกี่ยวกับสมบัติความเสียดทานและการสึกหรอของพอลิเมอร์ยังมีการศึกษากันน้อยมากเมื่อเทียบกับโลหะและเซรามิกซ์ ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการมุ่งศึกษาโคพอลิเมอร์ของเมทธิล เมทธะไครเลตและเปอร์ฟลูออโรอัลคิลเอทธิล เมทธะไครเลต เพื่อนำไปใช้เป็นฟิล์มลดความเสียดทาน ชิ้นงานที่ใช้ในการทดสอบเป็นฟิล์มของสารละลายพอลิเมอร์ข้างต้นที่ความเข้มข้น 5% โดยน้ำหนักในตัวทำละลายโทลูอีนฉาบบนเแผ่นพอลิเมทธิล เมทธะไครเลตที่มีความหนา 1 มิลลิเมตร โดยวิธีการฉาบด้วยเทคนิคการหมุนด้วยความเร็วสูง สมบัติที่ศึกษาได้แก่ มุมสัมผัส พลังงานผิว สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน และสมบัติการสึกหรอ โดยใช้เครื่องทดสอบสมบัติการสึกหรอ จากการศึกษาพบว่าสัดส่วนของเปอร์ฟลูออโรอัลคิลเทอธิล เมทธะไครเลตต่อเมทธิล เมทธะไครเลต ที่เหมาะสมที่แสดงค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานต่ำสุดอยู่ในช่วง (1-5)X10-3 นอกจากนี้การอภิปรายเพื่อหาเหตุผลอธิบายการเกิดการเสียดทานและการสึกหรอประกอบเอกสารอ้างอิงได้นำมากล่าวไว้ ณ ที่นี้ด้วย-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.titleTribological properties PEMA-PMMA copolymer thin films-
dc.title.alternativeสมบัติทางไตรบอลอจี้ของโคพอลิเมอร์เมทธิล เมทธาไคเลตเปอร์ฟลูออโรอัลคิลเอทธิล เมทธาไคเลต-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplinePolymer Science-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yindee_to_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ908.46 kBAdobe PDFView/Open
Yindee_to_ch1_p.pdfบทที่ 11.25 MBAdobe PDFView/Open
Yindee_to_ch2_p.pdfบทที่ 2685.35 kBAdobe PDFView/Open
Yindee_to_ch3_p.pdfบทที่ 3799.29 kBAdobe PDFView/Open
Yindee_to_ch4_p.pdfบทที่ 41.34 MBAdobe PDFView/Open
Yindee_to_ch5_p.pdfบทที่ 5626.6 kBAdobe PDFView/Open
Yindee_to_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.