Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย สิริกายะ-
dc.contributor.authorลักขณา คมคาย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-09T02:14:16Z-
dc.date.available2020-12-09T02:14:16Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746390309-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71435-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีในการใช้อาหารเพื่อสื่อความหมายในภาพยนตร์ คัดเฉพาะเรื่องจำนวน 9 เรื่อง และเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของภาพยนตร์ดังกล่าวเพื่อจะได้ทราบว่า ภาพยนตร์ทั้งหมดสามารถจะจัดอยู่ในกลุ่มของภาพยนตร์แนวใหม่แนวเดียวคันได้หรือไม่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาความหมายจากตัวบทของภาพยนตร์ โดยอาศัยทฤษฎีสัญญะวิทยา สัญญะวิทยาของสื่อภาพยนตร์ แนวคิดเรื่องกฎว่าด้วยการสัมผัส และแนวคิด เรื่องการวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหา ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. ภาพยนตร์คัดเฉพาะเรื่องอาศัยกรอบแนวคิด "กินอย่างไรเป็นอย่างนั้น" และหลักการจากกฎว่าด้วยการสัมผัสเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์การสื่อความหมาย 2. องค์ประกอบของภาพยนตร์ คัดเฉพาะเรื่องมีลักษณะร่วมกันในด้านมุมมอง โครงสร้าง แนวคิดหลัก การสร้างตัวละคร แรงจูงใจ และฉาก แต่องค์ประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวอาจมีรายละเอียดที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมของอาหารที่นำเสนอและสงที่ภาพยนตร์ต้องการจะพูดถึง 3. ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ภาพยนตร์คัดเฉพาะเรื่องมีธรรมเนียมแบบแผนและโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นลักษณะเฉพาะร่วมกัน ซึ่งทำให้สามารถจัดอยู่ในกลุ่มของภาพยนตร์แนวใหม่แนวเดียวกันได้-
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed at analysing the strategies used in the 9 selected films to use foods for creating the signification and analysing the films’ elements in order to find out whether the selected films could be grouped in the same new film genre. The research was based on the qualitative approach to find out the meanings in the film texts. Semilogy, Semiology of the cinema, the concept of the Law of Contagion and the analysis of form and content were applied. Lie results are as follows: 1. The selected films basically use the conceptual framework of "You are what you eat" and the principles of the Law of Contagion in conveyingthe meanings. 2. There are common characteristics in the selected films’ elements including point of view, structure, theme, characterization, motivation and scene. But detailed elements may vary according to differences in food cultures presented and what the films refer to. 3. The study indicates that all the selected films share common traditions and basic structures enabling them to be grouped in the same new film genre.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาหารen_US
dc.subjectภาพยนตร์en_US
dc.subjectสัญศาสตร์en_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectFooden_US
dc.subjectMotion picturesen_US
dc.subjectSemioticsen_US
dc.subjectContent analysis (Communication)en_US
dc.titleการใช้อาหารเพื่อสื่อความหมายในภาพยนตร์คัดเฉพาะเรื่องen_US
dc.title.alternativeSignification of foods in selected filmsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lakkana_ko_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ379.58 kBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_ch1.pdfบทที่ 1515.79 kBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_ch2.pdfบทที่ 2761.95 kBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_ch3.pdfบทที่ 3667.36 kBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_ch4.pdfบทที่ 45.74 MBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_ch5.pdfบทที่ 51.37 MBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_ch6.pdfบทที่ 6244.16 kBAdobe PDFView/Open
Lakkana_ko_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก789.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.