Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-30T10:01:39Z-
dc.date.available2008-05-30T10:01:39Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7145-
dc.description.abstractการปฏิรูปการศึกษาในประเทศไทย เป็นที่มาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งนับว่าเป็นครั้งแรกที่พระราชบัญญัติการศึกษาของไทยได้เน้นสาระสำคัญเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาดังปรากฏอยู่ในมาตรา 9 ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาหาแนวทางนโยบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อสืบสานเจตนารมณ์ในการปฏิรูปการศึกษาที่เกิดขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาสถานการณ์และการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในนานาประเทศ และสังเคราะห์ประสบการณ์การนำใช้เทคโนโลยีการศึกษาจากประเทศคัดสรรในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุโรป และอเมริกา เพื่อเป็นข้อเสนอแนะแนวนโยบายเทคโนโลยีการศึกษาในการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย วิธีดำเนินการวิจัยเป็นการวิเคราะห์เอกสารทางการจากแหล่งปฐมภูมิ ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ ผลจากการวิเคราะห์นำเสนอในบทต่อไปนี้ ได้แก่ วิสัยทัศน์และนโยบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ การเตรียมความพร้อมทางด้านโครงสร้างทางกายภาพ คือ ฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์ การเตรียมความพร้อมทางด้านความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและการประกันคุณภาพ ในบทสุดท้ายเป็น การนำเสนอแนวทางนโยบายเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในประเด็นของการเตรียมและการจัดการด้านฮารด์แวร์ ซอฟท์แวร์ ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีของครูและนักเรียน การบูรณาการเข้าสู่ห้องเรียนและการประกันคุณภาพen
dc.description.abstractalternativeThe Education Reforms in Thailand resulted in the Educational Act of 1999. Educational Technology was, for the first time in Thai history, founded in Chapter Nine. The urgent need for research studies at that time was to find sets of national policies of Educational Technology to set forth of its implementation. The aim of this research was to study the worldwide situations of Educational Technology. The experiences in implementations of Educational Technology from various countries in Southeast Asia, Europe and America were synthesized to be a set of recommendations for Educational Technology policies of Basic Education in Thailand. Method of this study was a document analysis of official documents and research studies from various countries. Results of the synthesis were presented in topics of Visions and worldwide national Educational Technology policies, Preparation and readiness of physical infrastructure, hardware and software, Preparation of Technology literacy, Technology integration, and the Issuesof quality assurance. Finally, the researcher proposed the set of recommendations for national educational technology policies of Basic Education in terms of physical preparation and management of infrastructure, hardware and software; Technology Literacy for students, teachers and staff; Integration of educational technology in schools, and quality assurance.en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยเอกสารปฏิรูปการศึกษาen
dc.format.extent10489187 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาen
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.titleกระแสเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ : ข้อเสนอแนะแนวนโยบายเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : รายงานการวิจัยen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorJaitip.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaithip(edu).pdf10.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.