Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม โอทกานนท์-
dc.contributor.authorสุชาดา แก่นแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-15T04:38:51Z-
dc.date.available2020-12-15T04:38:51Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746386514-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71542-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ เพศ สถานภาพสมรสระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และการมีผู้สูงอายุในครอบครัว กับการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจของประชาชนจังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างมีอายุตั้งแต่ 40-59 ปี จำนวน 400 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามปัจจัยคัดสรรและการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคลแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างประชาชนจังหวัดเพชรบุรีมีการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุดังนี้ 1.1 การเตรียมตัวด้านสังคมอยู่ในระดับมาก 1.2 การเตรียมตัวด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านเศรษฐกิจ อยู่ในระดับปานกลาง 1.2.1 กิจกรรมการเตรียมตัวด้านร่างกายที่มีการปฏิบัติในระดับน้อย ได้แก่ การออกกำลังกายและการฝึกขมิบกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ส่วนการเตรียมตัวด้านเศรษฐกิจที่มีการปฏิบัติในระดับน้อย ได้แก่ การเตรียมทำพินัยกรรม 1.2.2 ประชาชนกลุ่มที่มีอาชีพรับจ้าง เกษตรกรรม และค้าขาย มีการเตรียมตัวด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านเศรษฐกิจ อยู่ในระดับมากไม่ถึงร้อยละ 41 2.การทดลอบสถิติไคสแควร์พบว่า 2.1 อายุ สถานภาพสมรส และรายได้ มีความสัมพันธ์กับการเตรียมตัวด้านเศรษฐกิจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 อาชีพมีความสัมพันธ์กับการเตรียมตัวด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และโดยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการเตรียมตัวโดยรวมทั้ง 4 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.4 เพศและการมีผู้สูงอายุในครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมคัวในทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThis correlation study was designed to determine the relationships between selected factors and preparation for aging of people, Petchaburi Province. The subject were 400 middle-age people who were 40-59 years old, selected by multiple-stage sampling technique. The research instruments was a questionnare which was tested for validity and reliability. The statistical methods used in this study were percentage, mean, standard deviation, chi-square and contingency coefficient. The major findings of the study were as follows 1. Preparation for aging of people in Petchaburi Province 1.1 Preparation for aging on social aspect was in high level 1.2 Preparation for aging on physical, psycho and economic aspects were in moderate level 1.2.1 Physical exercise and the exercise of pelvic floor were named as low activities of preparation on physical aspect, while making a will was named as low activity of preparation on economic aspect. 1.2.2 The group of people named-as labour, agriculture and selling, not more than 41 percentage, had high activity of preparation on physical, psycho and economic aspects. 2. Chi-square test were revealed as 2.1 There were significant relationships between age, marital status, incomes and preparation for aging on economic aspect at .05 level. 2.2 There were significant relationships between occupation and preparation for aging on physical, psycho, social, economic and total aspects at .05 level. 2.3 There was a significant relationships between educational level and preparation for aging on total at .05 level. 2.4 There was no significant relationships between sex, availability of elderly at home and preparation for aging on four aspect and total at .05 level.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัยชราen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทยen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตen_US
dc.subjectAgingen_US
dc.subjectOlder peopleen_US
dc.subjectOlder people -- Thailanden_US
dc.subjectQuality of lifeen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ ของประชาชนจังหวัดเพชรบุรีen_US
dc.title.alternativeRelationships between selected factors and preparation for aging of people, Petchaburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchada_ka_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ338.8 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_ka_ch1.pdfบทที่ 1609.37 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_ka_ch2.pdfบทที่ 23.24 MBAdobe PDFView/Open
Suchada_ka_ch3.pdfบทที่ 3235.1 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_ka_ch4.pdfบทที่ 4702.62 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_ka_ch5.pdfบทที่ 5819.27 kBAdobe PDFView/Open
Suchada_ka_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก819.03 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.