Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71581
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชรี ทรัพย์-
dc.contributor.authorอุราภรณ์ สุจริตจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-16T06:50:39Z-
dc.date.available2020-12-16T06:50:39Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746337122-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71581-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงที่มีต่อวินัยในชั้นเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2538 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 12 คน ที่แสดงพฤติกรรมการมีวินัยในชั้นเรียนตํ่ากว่าร้อยละ 50 ของจำนวนการเกิดพฤติกรรมการมีวินัยในชั้นเรียน แล้วสุ่มแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 6 คน กลุ่มควบคุม 6 คน กลุ่มทดลองเขาร่วมโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที เป็นเวลา 5 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบบันทึกพฤติกรรมการมีวินัยในชั้นเรียน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม (ABF Control Group Design) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการมีวินัยในชั้นเรียนด้วยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า (1) ในระยะทดลองนักเรียนที่เข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง มีวินัยในชั้นเรียนสูงกว่าในระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ในระยะทดลองและระยะติดตามผลนักเรียนที่เข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง มีวินัยในชั้นเรียนไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) นักเรียนที่เข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงมีวินัยในชั้นเรียนสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มทั้งในระยะทดลอง และในระยะติดตามผล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of reality therapy-based group counseling on the classroom discipline of prathom suksa six students. The sample was 12 prathom suksa six students at Chulalongkorn University Demonstration School in the academic I year 1995 who had lower than 50% of the classroom discipline behaviors. They were divided j randomly into an experimental group and a control group of 6 students each. The experimental group had participated in reality therapy-based group counseling conducted by the researcher for 50 minutes three times a week for five consecutive weeks. The instrument used in this study was The Observation Schedule of Classroom Discipline Behavior. The research design was the ABF Control Group Design. The t-test was utilized for data analysis. During the treatment and the follow up phase the results showed that: (1) After having participated in reality therapy-based group counseling the classroom I discipline behavior of the experimental group increased, significant at the .01 level. (2) No significant difference on the classroom discipline behavior of the experimental group during the treatment and the follow up phase, at the .01 level. (3) During the treatment and the follow up phase, the experimental group had the classroom discipline behavior higher than the control group significant at the .01 level.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม-
dc.subjectจิตบำบัดแบบเผชิญความจริง-
dc.subjectการแนะแนว-
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา-
dc.subjectนักเรียนสาธิต-
dc.subjectวินัยในโรงเรียน-
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริง ที่มีต่อวินัยในชั้นเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6-
dc.title.alternativeEffect of reality therapy-based group counseling on the classroom discipline of prathom suksa six students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Uraporn_su_front_p.pdf921.49 kBAdobe PDFView/Open
Uraporn_su_ch1_p.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open
Uraporn_su_ch2_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Uraporn_su_ch3_p.pdf821.2 kBAdobe PDFView/Open
Uraporn_su_ch4_p.pdf929.5 kBAdobe PDFView/Open
Uraporn_su_ch5_p.pdf855.57 kBAdobe PDFView/Open
Uraporn_su_back_p.pdf5.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.