Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71627
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรี ขาวเธียร์ | - |
dc.contributor.advisor | บุญยง โหล่วงศ์วัฒน | - |
dc.contributor.author | สุวรรณา นทีวงศ์กิจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-17T08:08:53Z | - |
dc.date.available | 2020-12-17T08:08:53Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746355007 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71627 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2539 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวัสดุประสานที่เหมาะสมที่สุด ในการทำเสถียรเถ้ากากตะกอนน้ำมัน โดยการท่าให้เป็นก้อนแข็ง เถ้ากากตะกอนน้ำมันเป็นของเสียที่ได้จากกระบวนการเผา ในส่วนที่เรียกว่า กากตะกอนดิบ หรือ สลัดจ์กรดและดินดูดซับสีที่ใช้แล้วจากการกลั่นนำมันเครื่องเก่า โดยจะนำตะกอนดับมาเผาที่อุณหภูมิต่าง ๆ คือ 400 ºซ, 800 ºซ และ 1200 ºซ ได้ขี้เถ้ากาก ตะกอนน้ำมัน 3 ชนิด คือ ขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 400 ºซ, ขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 800 ºซ และ ขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1200 ºซ ตามลำดับ หลังจากนั้นจึงนำมาทำเสถียรและท่าให้เป็นก้อนแข็งวัสดุประสานที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ปูนซีเมนต์ ปูนขาว และ ปูนขาวผสมปูนซีเมนต์ (1:1 โดยน้ำหนัก) โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ขั้นตอน คือ ( 1 ) การทดสอบหาสัดส่วนผสมเบื้องต้น ( 2 ) การทดสอบหาสัดส่วนผสมที่เหมาะสมที่สุด วิธีที่ใช้ทดสอบประสิทธิภาพในการทำให้เป็นก้อน ได้แก่ กำลังรับแรงอัด และความเข้มข้นของโลหะหนักในน้ำสกัดผลการทดสอบหาสัดส่วนผสมเบื้องต้น พบว่า ปูนซีเมนต์ให้ผลการทดสอบที่ดีที่สุดสำหรับขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 400 ºซ และขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1200 ºซ โดยใช้สัดส่วนผสมปูนซีเมนต์ร้อยละ 10 สำหรับขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 400 ºซ และใช้สัดส่วนผสมปูนซีเมนต์ร้อยละ 20 สำหรับขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1200 ºซ สำหรับขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 800 ºซ ใช้ปูนขาวผสมปูนซีเมนต์ (1:1 โดยน้ำหนัก) ในสัดสวนผสมร้อยละ 10 เป็นวัสดุประสานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับผลการทดสอบสัดส่วนผสมที่เหมาะสมที่สุด พบว่า สัดส่วนผสมวัสดุประสานที่เหมาะสมที่สุดในการวิจัยครั้งนี้ คือ ใช้สัดสวนผสมปูนซีเมนต์ร้อยละ 7 และ 19 สำหรับขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 400 ºซ และ ขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1200 ºซ ตามสำดับ สำหรับขี้เถ้าหลังการเผาที่อุณหภูมิ 800 ºซ ใช้สัดส่วนผสมปูนขาวผสมปนซีเมนต์ ร้อยละ 9 โดยน้ำหนัก | - |
dc.description.abstractalternative | This research investigated the optimum amount of binders for stabilizing of ash from incineration of waste oil refinery sludge by stabilization /solidification. Oilly waste sludge is a mixture of acid sludge and used activated clay from a waste oil re-refinering plant. After incineration at 400 ℃, 800 ℃ and 1200 ℃, the products ware called ash incinerated at 400 ℃, ash incinerated at 800 ℃ and ash incinerated at 1200 ℃, respectively. The binders used in the study were Portland cement, lime and a mixture of lime and Portland cement at a ratio of 1:1 by weight. The experiments were divided into two stages consisting of trial test and optimization test. The method employed to assess the effectiveness of stabilization/solidification were compressive strengths and concentrations of heavy metals in extractant. The result of the trial test unveiled that Portland cement was the best binder for ash incinerated at 400 ℃ and ash incinerated at 1200 ℃. The best proportions of Portland cement to ash were found to be 10 percent and 20 percent for ash incinerated at 400 ℃ and ash incinerated at 1200 ℃, respectively. But the best binder for ash incinerated at 800 ℃ was the mixture of lime and porwand cement which found to be 10 percent. In the optimization test, the best proportions of the binder in this experiment were 7 percent and 19 percent of Portland cement for ash incinerated at 400 ℃ and ash incinerated at 1200 ℃, respectively. The best proportion of ash incinerated at 800 ℃ was a mixture of lime and Portland cement at 9 percent by weight. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ของเสียอันตราย -- การทำเสถียร | - |
dc.subject | ของเสียอันตราย -- การบำบัด | - |
dc.subject | น้ำมันหล่อลื่น -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | - |
dc.subject | เถ้ากากตะกอนน้ำเสีย | - |
dc.title | การทำเสถียรกากตะกอนจากกระบวนการกลั่นน้ำมันเครื่องเก่า ด้วยวิธีการเผา | - |
dc.title.alternative | Stabilization of ash form incineration of waste oil refinery sludge | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwanna_na_front_p.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch1_p.pdf | 788.68 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch2_p.pdf | 653.27 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch3_p.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch4_p.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch5_p.pdf | 2.95 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch6_p.pdf | 682.8 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_ch7_p.pdf | 606.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_na_back_p.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.