Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71663
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มงคล เตชะกำพุ | - |
dc.contributor.advisor | ดวงนฤมล ประชัญคดี | - |
dc.contributor.author | พรรณี รัตนแสง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-21T13:45:44Z | - |
dc.date.available | 2020-12-21T13:45:44Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746333119 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71663 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการทดลองนี้ เพื่อเปรียบเทียบความสำเร็จในการแบ่งครึ่งเอมบริโอสุกร ในระยะมอรูล่าและระยะบลาสโตซิส และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของใบมีดและเข็ม แก้วในการแบ่งครึ่งเอมบริโอ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ชนิดหัวกลับ หลังการแบ่งครึ่งเอมบริโอ แล้วนำมาเลี้ยงในน้ำยาเลี้ยงเอมบริโอ ในตู้อบ 5% คารบอนไดออกไซด์ ที่ 39 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง จากการแบ่งครึ่งเอมบริโอ 202 เอมบริโอ ได้ครึ่งเอมบริโอ 404 ครึ่งเอมบริโอ โดยแบ่งเป็นครึ่งเอมบริโอระยะมอรูล่า 196 ครึ่งเอมบริโอ และครึ่งเอมบริโอระยะบลาสโตซิส 208 ครึ่งเอมบริโอ หลังการเลี้ยงในน้ำยาพบว่า ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญต่อการเจริญ และรอดชีวิตของครึ่งเอมบริโอ ที่ได้จากการแบ่งเอมบริโอด้วยใบมีด (63%) หรือเข็มแก้ว (61.4%) ในเอมบริโอระยะมอรูล่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (65% และ 78.6%) แต่อยางไรก็ตาม ครึ่งเอมบริโอที่แบ่งด้วยเข็มแก้ว (31%) จะมีการเจริญและรอดชีวิตเป็นคู่มากกวาครึ่งเอมบริโอที่แบ่งด้วยใบมีด (4%) เมื่อแบ่งเอมบริโอระยะบลาสโตชิส พบว่าครึ่งเอมบริโอทีได้จากการแบ่งครึ่งเอมบริโอโดยใช้ใบมีด (59%) หรือการใช้เข็มแกว (38%)มีเปอร์เซ็นต์การเจริญและรอดชีวิต น้อยกว่ากลุ่มควบคุม (92% และ 90%) และครึ่งเอมบริโอที่แบ่งด้วยใบมีด (15%) จะมีการเจริญ และรอดชีวิตเป็นคู่มากกว่าครึ่งเอมบริโอที่แบ่งด้วยเข็มแก้ว (5%) จากการทดลองแสดงให้เห็นว่าการแบ่งครึ่งเอมบริโอระยะมอรูล่าด้วยเข็มแก้วน่าจะเป็นระยะและวิธีที่เหมาะสมในการนำมาแบ่งครึ่ง เพื่อเพิ่มผลผลิตเอมบริโอและผลิตครึ่งเอมบริโอแฝด ในขณะที่การแบ่งครึ่งเอมบริโอ ระยะบลาสโตซิส ใบมีดน่าจะเป็นเครื่องมือ ที่มีประสิทธิภาพดีกว่า | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to compare the effectiveness of pig embryos bisection either at the morula (day 4.5-5.0) or the blastocyst (day 5.0-5.5) stages by using either the microblade or the glass microneedle. The embryos were symmetrically divided under the inverted microscope and subsequently cultured in vitro in 5% CO2 at 39℃ and their development were assessed after 24 hr. There were no significant difference in the embryo survival after bisection at the morula stage using either the microblade (63%) or the glass microneedle (61.4%) when compare to those of the control (65% and 78.6% respectively). However, the development of the bisected embryo in pairs appeared to be higher in the group using glass microneedle (31%) than that of the group using microblade (4%). When the embryos at the blastocyst stage were bisected, the embryo survival in the control groups (92% and 90%) were significantly higher than in the group using microblade (59%) or using glass microneedle (38%), and the number of bisected embryos developed in pairs in the group bisected with microblade (15%) seemed to be higher than that of the group bisected with glass microneedle (5%). This data may indicate that the embryo at the morula stages are appropriate for increasing production and producing identical demi- embryos and the glass microneedle favored the embryo bisection at the morula stage, whereas the microblade is a preferable tool at the blastocyst stage. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | สุกร | - |
dc.subject | เอ็มบริโอ | - |
dc.title | ระยะการเจริญและวิธีการแบ่งครึ่งเอมบริโอสุกรที่เหมาะสม | - |
dc.title.alternative | Appropriate stages and methods for pig embryo bisection | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | สรีรวิทยา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phunee_ra_front_p.pdf | 940.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Phunee_ra_ch1_p.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phunee_ra_ch2_p.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phunee_ra_ch3_p.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Phunee_ra_ch4_p.pdf | 852.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Phunee_ra_back_p.pdf | 827.58 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.