Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71747
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาทิต เบญจพลกุล-
dc.contributor.authorฤทวีร์ จันทรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-16T23:31:57Z-
dc.date.available2021-01-16T23:31:57Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746357557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71747-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอวิธีการจัดสรรช่องสัญญาณของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบรังผึ้ง เพื่อให้อัตราการบล็อกลดลง ความจุช่องสัญญาณเพิ่มขึ้น โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลง ฮาร์ดแวร์และระบบสัญญาณติดต่อทางอากาศ จึงสามารถนำมาใช้ได้กับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ได้มีการลงทุนติดตั้งไปแล้วได้ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้แบบจำลองที่อ้างอิงกับระบบจีเอสเอ็มและคำนึงการเคลื่อนที่ของผู้ใช้ด้วย วิธีการแบ่งโหลดตามปริมาณทราฟฟิกแบ่งเป็น 2 กระบวนการหลักคือ กระบวนการแบ่งโหลดตามปริมาณทราฟฟิก และกระบวนการแฮนด์โอเวอร์แบบขึ้นกับปริมาณทราฟฟิก กระบวนการแบ่งโหลดตามปริมาณทราฟฟิกจะใช้การแฮนด์โอเวอร์เพื่อแบ่งโหลดไปเซลล์ประชิดที่มีช่องสัญญาณว่างมากกว่าได้ ซึ่งการเรียกนั้นต้องอยู่ในพื้นที่แฮนด์โอเวอร์มาร์จินและรับความแรงสัญญาณได้สูงกว่าค่า แฮนด์โอเวอร์เทรชโฮลของเซลล์ที่เลือก และช่องสัญญาณที่ว่างของเซลล์ที่เลือกนี้ต้องมากกว่าของเซลล์เดิม 2 ช่องขึ้นไป จึงจะแฮนโอเวอร์ได้ กระบวนการแฮนด์โอเวอร์แบบขึ้นกับปริมาณทราฟฟิก เป็นการหน่วงการเรียกที่จะแฮนด์โอเวอร์ไปเชลล์ทีมีทราฟฟิกมากกว่า ถ้าเซลล์ทีจะแฮนด์โอเวอร์ไปมีจำนวนช่องสัญญาณทีว่างมากกว่าเซลล์ปัจจุบัน 2 ช่องขึ้นไปจึงจะ แฮนด์โอเวอร์ได้ นอกจากความแรงสัญญาณที่รับต่ำกว่าค่าแฮนด์โอเวอร์เทรชโฮลก็สามารถแฮนด์โอเวอร์ได้ตามปกติ-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to present channel allocation method of cellular mobile telephone system to reduce blocking rate and to increase capacity without changing hardware and air interface signaling system. This method can be used with the existing system. The applied model was based on GSM system with consideration of users mobility. Traffic quantity based load sharing process can be separated into two processes, load sharing process, and handover process based on traffic quantity. The load sharing process uses handover process to share load from a heavier used channels cell to more vacant channels of adjacent cells. That call must| be in handover margin area and must detect signal strength of the selected cell more than handover threshold, and the selected cell must has two vacant channels more than the current cell. Handover process based on traffic quantity will delay handover of a call to an adjacent cell with traffic heavier than the current cell. Handover j will be permitted if the target cell has two vacant channels more than the| current cell. However, if the signal strength less than handover threshold will be allowed.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่-
dc.subjectสัญญาณและการให้สัญญาณ-
dc.subjectCell phone systems-
dc.subjectSignals and signaling-
dc.titleกลยุทธการแบ่งโหลดตามปริมาณทราฟฟิกไปยังเซลล์ข้างเคียง ของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่-
dc.title.alternativeTraffic quantity based load sharing strategies for adjacent cells of a mobile telephone system-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rittavee_ch_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ1.06 MBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1754.37 kBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.37 MBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3871.22 kBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.52 MBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_ch5_p.pdfบทที่ 52.7 MBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_ch6_p.pdfบทที่ 6654.58 kBAdobe PDFView/Open
Rittavee_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภา่คผนวก686.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.