Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรูญ มหิทธาฟองกุล-
dc.contributor.advisorเหรียญ บุญดีสกุลโชค-
dc.contributor.authorอนุพงศ์ งามขจรวิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-18T03:04:27Z-
dc.date.available2021-01-18T03:04:27Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745783617-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71762-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์มาช่วยในการวางแผนการผลิตสำหรับโรงงานประกอบโทรทัศน์ ซึ่งเป็นระบบข้อสนเทศที่รวมการจัดตารางการผลิตและการควบคุมวัสดุเข้าด้วยกัน โดยเริ่มศึกษาข้อมูลและเอกสารที่ใช้ในการวางแผนของโรงงานเพื่อสร้างฐานข้อมูลของระบบ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการประมวลผลได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการวางแผนการผลิต การวางแผนความต้องการวัสดุ การพยากรณ์ความต้องการวัสดุ และการจัดการวัสดุคงคลัง ระบบข้อสนเทศแบ่งออกเป็น 4 โมดูล ได้แก่ โมดูลการจัดการวัสดุคงคลัง โมดูลการจัดการข้อมูลการผลิต โมดูลการวางแผนการผลิต และโมดูลสนับสนุนระบบ. จากการศึกษาพบว่า การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์มาช่วยในการวางแผนการผลิตสามารถช่วยให้การคำนวณความต้องการวัสดุและการกำหนดตารางการผลิตทำได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความต้องการของตลาดที่เกิดขึ้น รายงานต่างๆที่ได้จากระบบสามารถนำไปใช้ในการมอบหมายงานให้กับหน่วยงาน การควบคุมการใช้วัสดุที่ใช้ในการผลิต จัดการวัสดุคงคลัง และเป็นข้อมูลสำหรับการจัดซื้อ ส่วนสำคัญที่มีผลต่อการวางแผนผลิตของระบบได้แก่ ความถูกต้องของข้อมูลที่ใส่ให้กับระบบและช่วงเวลาของการวางแผน การวางแผนผลิตนี้จึงต้องคำนึงถึงสภาพความเป็นจริงหรือความเป็นไปได้ของโรงงานด้วย ในอนาคตถ้าระบบการวางแผนการผลิตนี้สามารถเชื่อมโยงกับระบบการจัดซื้อ จะสามารถทำให้การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ช่วยในการวางแผนผลิตนี้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study the computerized production planning for a television assembly plant. This study integrates scheduling and controlling for manufacturing. The material requirement planning technique and backward scheduling are combined for use in the information system. The database and program application are created to record the data of inventory status, bills of materials, routing and capacity status. The system is composed of 4 modules, inventory control, product data management, manufacturing, and system supports. It is found that the computerized production planning has a capability of calculating the requirement of materials, making job shop schedules faster and more accurate. Thereby, the system can increase the planning efficiency. In the future, the system will be more effective if it can be linked with the purchasing system.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการวางแผนการผลิต-
dc.subjectโทรทัศน์-
dc.subjectไมโครคอมพิวเตอร์-
dc.subjectProduction planning-
dc.subjectTelevision-
dc.subjectMicrocomputers-
dc.titleการใช้คอมพิวเตอร์ในการวางแผนการผลิตในโรงงานประกอบโทรทัศน์-
dc.title.alternativeComputerized production planning for television assembly plant-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anupong_ng_front.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ8.81 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_ch1.pdfบทที่ 14.07 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_ch2.pdfบทที่ 29.49 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_ch3.pdfบทที่ 37.3 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_ch4.pdfบทที่ 411.08 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_ch5.pdfบทที่ 534.38 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_ch6.pdfบทที่ 63.19 MBAdobe PDFView/Open
Anupong_ng_back.pdfบรรณานุกรม และ ภาคผนวก76.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.