Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71780
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน-
dc.contributor.authorไมตรี สมบูรณ์-
dc.date.accessioned2021-01-18T11:25:23Z-
dc.date.available2021-01-18T11:25:23Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745690058-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71780-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์ เพื่อสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคณิตศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518-2529 โดยสังเคราะห์ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณลักษณะ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลการสังเคราะห์เชิงปริมาณ 1. ค่าเฉลี่ยของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์กับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง มีค่าเท่ากับ .1512 และค่าเฉลี่ยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์กับองค์ประกอบด้านความรู้ขั้นพื้นฐานมีค่าสูงสุด (r=.6215) 2. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธีสอนแบบวรรณีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธีสอนแบบสสวท. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธีสอนที่ใช้สื่อการเรียนการสอนที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธีสอนแบบปกติ และพบว่าไม่มีความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธีสอนแบบค้นพบกับวิธีสอนแบบบรรยาย ผลการสังเคราะห์เชิงคุณลักษณะ นักเรียนสามารถเรียนเนื้อหานอกหลักสูตรซึ่งผู้วิจัยเหล่านั้นสร้างขึ้นได้ มีเนื้อหาที่เป็นปัญหาในการสอนของครูหลายหัวข้อ นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีสอนแบบสถานการณ์จำลอง มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธีสอนแบบปกติ นักเรียนที่ได้รับการทดสอบย่อยหลายครั้งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ใด้รับการสอบครั้งเดียว ลักษณะของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงคือ มีความจำดี ปัญหาในการสอนของครูคือ ไม่เคยได้รับการอบรม มีภาระหน้าที่อื่นที่ต้องรับผิด ชอบมาก ไม่มีแหล่งค้นคว้า และนักเรียนมีสติปัญญาแตกต่างกันมาก-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to synthesize master's theses in mathematics education from 1975 to 1986 in the aspects of quantity and quality. The findings were as follows: The findings of quantitative synthesis: 1. The average of relationship coefficient between mathematics learning achievement and related factors was .1512, and the average of the relationship coefficient between mathematics learning achievement and the background knowledge factor was highest. (r =.6215) 2. The mathematics learning achievement of students taught by Wannee's teaching method was higher than students taught by IPST's. The mathematics learning achievement of students taught by the teaching method using instructional media emphasizing individual difference was higher than students taught by conventional teaching method. There was no difference of mathematics learning achievement between discovery teaching method and descriptive teaching method. The findings of qualitative synthesis: Students were able to study extra subject contents constructed by those researchers. There were teaching problems in several subject contents. The mathematics learning achievement of students taught by simulation teaching method was higher than students taught by conventional teaching method. The mathematics learning achievement of students took several formative tests was higher than those t took one summative test. High learning achievement students' characteristic was having good memory. The teachers' teaching problems were lacking of training, having too much extra responsibilities, having no researching resources, and students' different intelligence.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1988.86-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิทยานิพนธ์--ไทยen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน-วิจัยen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน--ไทยen_US
dc.subjectDissertations, Academic--Thailanden_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching--Researchen_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching--Thailanden_US
dc.titleการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคณิตศาสตร์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2518-2529en_US
dc.title.alternativeA synthesis of master's theses in mathematics education from 1975 to 1986en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1988.86-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Maitree_so_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ รายการอ้างอิงและภาคผนวก920.1 kBAdobe PDFView/Open
Maitree_so_ch1_p.pdfบทที่ 1827.44 kBAdobe PDFView/Open
Maitree_so_ch2_p.pdfบทที่ 21.7 MBAdobe PDFView/Open
Maitree_so_ch3_p.pdfบทที่ 31.04 MBAdobe PDFView/Open
Maitree_so_ch4_p.pdfบทที่ 41.9 MBAdobe PDFView/Open
Maitree_so_ch5_p.pdfบทที่ 51.27 MBAdobe PDFView/Open
Maitree_so_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก3.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.