Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71892
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรพล วิรุฬห์รักษ์ | - |
dc.contributor.author | ไพโรจน์ ทองคำสุก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-01-21T09:56:24Z | - |
dc.date.available | 2021-01-21T09:56:24Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746320254 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71892 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษากระบวนการรบของพญาวานรในการแสดงโขนพญาวานรที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการรบคือ สุครีพ หนุมาน และองคต โดยใช้กระบวนการศึกษาถึงขั้นตอนในการฝึกหัดโขนตัวลิง และ กระบวนท่ารบของพญาวานรวามีคุณลักษณะอย่างไร แล้วนำข้อมูลนั้นมาศึกษาวิเคราะห์ว่า กระบวนการฝึกหัดโขนตัวลิงมีขั้นตอนอย่างไร และกระบวนท่ารบของพญาวานรทั้ง 3 ตัว รวมถึงพญายักษ์ที่พญาวานร เข้ารบด้วยผลจากการศึกษาวิจัยได้ข้อสรุปว่า การฝึกหัดโขนตัวลิง ต้องฝึกหัด เบื้องต้นและฝึกแย่ท่าลิงท่อน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงท่าทางของลิงในการแสดงโขนได้อย่างถูกต้อง และ เป็นแบบแผนเดียวกันส่วนกระบวนท่ารบนั้น เมื่อศึกษาพบว่าท่ารำและขั้นตอนการออกรบมีความคล้ายคลึงกันมาก โดยเฉทาะการท้ารบ การเตรียมตัวรบ และการเข้ารบ ท่าหลัก 4 ท่า อาจมีความแตกต่างกันตรง ทำที่ 4 ซึ่งจะมีกระบวนทำที่พลิกแพลงออกไปตามสถานการณ์ของเนื้อเรื่อง กระบวนท่าการเข้ารบกัน มีลักษณะที่จัดไว้อย่างมีระบบและ เฟ้นไปในรูปแบบเดียวคือ ทำท่าปัดเมื่อเข้ารบ ทำท่าจับ ทำท่าปัด เมื่อตีออก และท่าขึ้นลอย กระบวนทำรบนี้ส่วนใหญ่จะ เน้นความแข็งแรงและความคล่องแคล่วว่องไว เพื่อให้เหมาะสมกับบทบาทในความเป็นลิงอีกด้วยกระบวนการรบของพญาวานรในการแสดงโขน เป็นกระบวนท่าที่ต้องปฏิบัติร่วมกับพญายักษ์ ดังนั้น น่าจะมีการศึกษากระบวนการรบของพญายักษ์ในการแสดงโขน เพื่อใช้เป็นตำราในการศึกษาควบคู่กัน | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims to study the Phya Wanon, monkey warriors' war dance patterns in the Khon performance. Three monkey warriors who held very important roles in the war dance were Sukreep, Hanuman, and Ongkot0 The basic sequence of training, their characteristics, and their stylistic fighting patterns were studied and analysed to find out the process of training Khon monkey and the fighting dance patterns of the three main warriors. This included the demons who were their counterparts. The findings of this research could be summed up as the followings the training of Khon monkeys should begin with the preliminary steps and gestures so as to enable the learners to dance correctly as monkey in the Khon performance and to be adhere to the standard patterns. As far as the war dance patterns were concerned, it was found that their dance gestures were similar, especially the challenging, the preparation, and the four principal fighting patterns» The difference may be found in the fourth fighting pattern which would be diversified according to the situation of the plot. The war dance gestures were systematically arranged according to a typical pattern Pad, first engagement and Jab, second engagement and withdraw for recharging, and Khuen Loi, mounting on one's adversary. Most of these war dance gestures emphasized the monkey lords' strength and agility.The Khon monkey warriors' war dance patterns consisted of the dance gestures which had to harmonize with those of the ogre lords. Therefore, orgres' war dances should be studied in order to serve as an inter-related text. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การรำ -- ไทย | - |
dc.subject | โขน | - |
dc.title | กระบวนการรบของพญาวานรในการแสดงโขน | - |
dc.title.alternative | Khon monkey war dance | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | นาฏยศิลป์ไทย | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pairoj_th_front_p.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch1_p.pdf | 869.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch2_p.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch3_p.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch4_p.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch5_p.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch6_p.pdf | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch7_p.pdf | 4.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch8_p.pdf | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_ch9_p.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairoj_th_back_p.pdf | 3.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.