Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71896
Title: Development of headspace method for analysis of organic volatile impurities and other residual solvents in drug
Other Titles: การพัฒนาวิธีเฮดสเปสเพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อนอินทรีย์ที่ระเหยง่ายและตัวทำละลายตกค้างอื่นๆ ในยา
Authors: Pranom Khaowmek
Advisors: Varaporn Leepipatpiboon
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Drugs -- Contamination
Drugs -- Analysis
ยา -- การปนเปื้อน
ยา -- การวิเคราะห์
Issue Date: 1995
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A headspace technique was developed for the determination of organic volatile impurities and other residual solvents i.e., methylene chloride 1 chloroform 1 benzene, trichloroethylene and 1,4 dioxane in drug samples. The various factors having the effect on sensitivity and percent recovery were studied. The temperature of 70 °c, equilibration time of 40 minutes, the liquid to gas phase volume ratio of 5:5 in 10 mL vial for headspace, 1.00 mL of injection volume, and salting out with 1.00 g. of anhydrous sodium sulfate were chosen as the optimal headspace analysis condition for the analysis of the organic volatile impurities and other residual solvents in drug. The method detection limit of this technique is in the range of 0.2 ppb to 0.2 ppm for all studied compound (except 12.41 ppm for 1,4-dioxane). The accuracy of this technique was also studied and the percent errors are in the range of 0.42 - 5.06 % at the ppm level of concentration. Moreover 1 the developed technique was also applied to analyse fifteen drug samples from thirteen companies. Chromatrographic and mass spectral analysis detected methylene chloride in the concentration of 38.10 - 202.10 µg/g and chloroform in the concentration of 957.10 ng/g. Other volatile solvents found were i.e., cyclohexane, methylamine, pentanone, ethanol, tetrachloroethylene and carbondisulfide
Other Abstract: เทคนิคเฮดลเปลได้พัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้วิเคราะห์สารปนเปื้อนอินทรีย์ที่ระเหยง่ายและตัวทำละลายตกค้างอื่น ๆ ในยา เช่น เมธิลลีนคลอไรด์ คลอโรฟอร์ม เบนซีน ไตรคลอโรเอธิลีน และ1,4-ไดออกเซน โดยทำการศึกษาและประเมินค่าปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อความไว (sensitivity) และประสิทธิภาพของการสกัด (percent recovery) ผลการศึกษาพบว่า การใช้อุณหภูมิ 70°c เป็นเวลา 40 นาที ด้วยอัตราส่วนน้ำต่ออากาศ 5: 5ในขวดขนาด 10 มิลลิลิตร ปริมาตรของ เฮดลเปลแก๊ส ที่นำเข้าสู่เครื่องแก๊สโครมาโตกราฟด้วยเครื่องออโต้เฮดลเปล 1.00 มิลลิลิตร และใช้เกลือโซเดียมซัลเฟต 1.00 กรัม เป็นสภาวะที่เหมาะสมที่สุดของการวิเคราะห์โดยเทคนิค เฮดลเปล เทคนิคนี้สามารถตรวจวัดสารประเภทนี้ในตัวอย่างยาได้ที่ระดับต่ำที่สุดในช่วง 0.2 ส่วนในพันล้านส่วน (ppb) ถึง 0.2 ส่วนในล้านส่วน (ppm) (ยกเว้น 1,4-ไดออกเซน สามารถ ตรวจวัดได้ที่ระตับต่ำที่สุด 12.41 ส่วนในล้านส่วน) ความถูกต้องในการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคนี้ พบว่ามีความผิดพลาดอยู่ร้อยละ 0.42 ถึง 5.06 เปอร์เซ็นต์ จากการสุ่มตัวอย่างยาเม็ดจำนวน 15 ตัวอย่างมาตรวจวัดด้วยเทคนิคนี้พบว่าตัวอย่างที่เก็บมา 3 ตัวอย่างมี เมธิลลีนคลอไรด์อยู่ ในช่วง 38.10 ถึง 202.10 ไมโครกรัมต่อกรัม และ 1 ตัวอย่างตรวจพบว่ามี คลอโรฟอร์มใน ปริมาณ 957.10 นาโนกรัมต่อกรัม และตรวจพบตัวทำละลายอินทรีย์อื่น ๆ เจือปนอยู่ ได้แก่ ไซโคลเฮกเซน, เมธิลเอมีน , เพนทาโนน , เตตราคลอโรเอธิลลีน และคาร์บอนไดซัลไฟด์ เป็นต้น
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1995
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71896
ISBN: 9746317695
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pranom_kh_front_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Pranom_kh_ch1_p.pdf900.89 kBAdobe PDFView/Open
Pranom_kh_ch2_p.pdf962.07 kBAdobe PDFView/Open
Pranom_kh_ch3_p.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open
Pranom_kh_ch4_p.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open
Pranom_kh_ch5_p.pdf643 kBAdobe PDFView/Open
Pranom_kh_back_p.pdf873.03 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.