Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิวัฒน์ วัฒนาวุฒิ-
dc.contributor.authorพรรณี เวศม์บริสุทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-26T09:48:09Z-
dc.date.available2021-01-26T09:48:09Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746387618-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71964-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractในปัจจุบัน การค้นข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า “ไฮเปอร์” ซึ่งหมายถึงความสามารถในการเรียกใช้ข้อมูลอย่างต่อเนื่องไปยังเอกสารหน้าที่ต้องการด้วยการกระโดด (jump) หรือ การแสดงบนจอซ้อนแบบผุดขึ้น (popup window) ทำให้การค้นข้อมูลเป็นไปอย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นการศึกษาและพัฒนาความรู้ความสามารถในเรื่องนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเป็นการศึกษาและออกแบบการสร้างและเรียกใช้ข้อมูลแบบ “ไฮเปอร์ดอกคิวเมนต์” ซึ่งหมายถึง ข้อมูลที่เป็นทั้งตัวเลขตัวอักษร รูปภาพ และเสียง นอกจากนี้ยังได้พัฒนาโปรแกรม 2 ส่วน คือ ตัวแปล และเครื่องมือแสดงข้อมูล เพื่อทดสอบผลการศึกษาและการออกแบบข้างต้น ในขณะที่ออกแบบวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ รูปแบบข้อมูลมาตรฐานที่ใช้สร้างให้เป็นแบบไฮเปอร์ที่แพร่หลายมี 2 รูปแบบ คือ Rich Text Format (RTF) และ Hyper Text Markup Language (HTML) ซอฟต์แวร์ที่สามารถสร้างรูปแบบ RTF มีแพร่หลายมากกว่า จึงเลือก RTF เป็นรูปแบบแฟ้มข้อมูลนำเข้า (Input file) ซึ่งจัดเก็บเฉพาะข้อมูล ตัวอักษร รูปภาพชนิดบิตแมพ (.bmp) และเสียง (.wav) โดยมีข้อกำหนดให้กับข้อมูลที่ต้องมีการกระโดด การแสดงบนหน้าต่างแบบผุดขึ้น การประมวลผลเสียง และส่วนอื่น ๆ ที่จำเป็น แล้วจึงออกแบบตัวแปลเพื่ออ่านข้อมูลนำเข้าและเขียนใหม่ลงในแฟ้มข้อมูลผลลัพธ์ (Output file) ในรูปแบบที่ออกแบบ เพื่อให้เครื่องมือแสดงข้อมูลไฮเปอร์ดอกคิวเมนต์สามารถอ่านมาทำการประมวลผลและแสดงข้อมูลภายใต้สภาวะแวดล้อมแบบวินโดว์ 95 ได้ โดยที่การแสดงข้อมูลต้องสามารถแสดงตัวอักษร ด้วยรูปแบบ ขนาด และสีที่ต่างกันได้ แสดงรูปภาพชนิดบิทแมพ ค้นหาคำหรือข้อมูลที่ต้องการ จาการค้นหาคำหลัก (keyword search) เขียนหรือแสดงข้อมูลเตือนความจำ (annotation) ได้ รวมทั้งจดจำตำแหน่งที่ทำงานผ่านมาแล้ว 10 ตำแหน่ง และผู้ใช้สามารถย้อนกลับได้โดยไม่ต้องเรียงตามลำดับ การพัฒนาโปรแกรมใช้ Visual Basic 4.0 ตามมาตรฐานของ Object Linkage Embeded (OLE) เวอร์ชัน 2 ขึ้นไป ทำให้แอปพลิเคชันอื่นที่เรียกใช้ OLE ได้สามารถเรียกใช้โปรแกรมนี้ได้เช่นกันen_US
dc.description.abstractalternativeNowsaday, the way to find the interesting topic in computer systems has been developed to the stage of “Hyper”. What “Hyper” provides is the abilities to continuously get the information from page to page either by jumping or poping up to the interesting topic and other utility tools. This helps utilizing the information more conveniently and efficiently. The thesis is to study and design the way to build and to retrieve hyperdocument information which contains text, bitmap image and sound. To implement the study and design, two applications are developed under Windows 95 environment : compiler and viewer tools. During the development time of the thesis, The two most popular hyperdocument formats are RTF (Rich Text Fomat) and HTML (Hyper Text Markup Language). At that time, RTF editor software was more effective than HTML editor. Therefore, RTF was chosen to be the input file format for the thesis. The input file must contain only text, bitmap picture (.bmp) or sound (.wav). The input file contents must follow the specifications which is defined during design stage of the thesis. The compiler application is designed to compile the input file and then write to the output file in the hyperdocument viewer format (.hdv) which viewer tools can interpret and display the hyperdocument. Viewer tool functions are to display text in various fonts, styles or colors, to display bitmap picture, to execute sound in wave format, to search by keyword, to annotate, to keep about 10 historical pages for going back to specific page. The thesis applications are developed to be OLE application 2.0 by Visual Basic 4.0. This makes other applications that follows the standard OLE can attach the thesis applications as part of them.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการค้นคืนสารสนเทศ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
dc.subjectการออกแบบระบบ-
dc.subjectInformation retrieval -- Computer programs-
dc.subjectSystem design-
dc.titleการออกแบบและพัฒนาตัวแปลและเครื่องมือแสดงข้อมูลไฮเปอร์ดอกคิวเมนต์en_US
dc.title.alternativeDesign and development of hyperdocument compiler and viewer toolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pannee_we_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ7.74 MBAdobe PDFView/Open
Pannee_we_ch1_p.pdfบทที่ 14.54 MBAdobe PDFView/Open
Pannee_we_ch2_p.pdfบทที่ 26.02 MBAdobe PDFView/Open
Pannee_we_ch3_p.pdfบทที่ 316.84 MBAdobe PDFView/Open
Pannee_we_ch4_p.pdfบทที่ 48.22 MBAdobe PDFView/Open
Pannee_we_ch5_p.pdfบทที่ 51.74 MBAdobe PDFView/Open
Pannee_we_back_p.pdfบรรณานุกรม และ ภาคผนวก179.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.